การพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลสำหรับนักศึกษาพยาบาล

Main Article Content

ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ
ผกามาศ พีธรากร
ภคพร กลิ่นหอม

บทคัดย่อ

 การพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาพยาบาลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาการพยาบาลที่มีคุณภาพ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการสร้างนวัตกรรมทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลโดยใช้แนวคิดการปฏิบัติโดยการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และแนวคิดการพัฒนากรอบความคิดเติบโต ซึ่งมี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) เปิดใจและ เปิดความคิด 2) สำรวจความคิดตั้งเป้าหมายสู่ความสำเร็จ 3) พัฒนานวัตกรรม 4) ตรวจสอบความคิด และ 5) การติดตามอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อคุณภาพในการให้บริการพยาบาลและสุขภาวะที่ดีแก่ผู้รับบริการต่อไป


        

Downloads

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2554). นวัตกรรมบริการพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 22(2), 71-79.

จิตรศิริ ตันติชาติกุล, และวนิดา เคนทองดี. (2556). การพัฒนาแนวปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการดูแลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจ. วารสารกองการพยาบาล, 40(1), 56-69.

จุฑารัตน์ บันดาลสิน. (2557). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่นวัตกรรมการบริการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 9-17.

ชนิตา รุ่งเรือง, และเสรี ชัดแช้ม. (2559). กรอบความคิดเติบโต: แนวทางใหม่แห่งการพัฒนาศักยภาพมนุษย์. วารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 14(1), 1-13.

ธนะดี สุริยะจันทร์หอม, และอารยา ปิยะกุล. (2561). ศึกษาผลการใช้รูปแบบ SPASA เพื่อเสริมสร้างโกรว์ธมายด์เซต สำหรับนักศึกษาหลักสูตรวิชาชีพครู. วารสารราชพฤกษ์, 16(3), 56-63.

นิภาภัทร จันทบูรณ์, อัจริยา วัชราวิวัฒน์, และวรินทร จันทรมณี. (2561). นวัตกรรมสุขภาพรองเท้าจุกยางกันลื่น และนวดเท้าสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ, 1(2), 41-53.

พรรณี บัญชรหัตถกิจ. (2555). นวัตกรรมและเทคโนโลยีในงานสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ. ขอนแก่น:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พวงแก้ว พุทธพิทักษ์, พรศิริ พันธสี, และกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2554). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายในชุมชน. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 39-52.

เพ็ญจมาศ คําธนะ, นงนุช วงศ์สว่าง, กมลพร แพทย์ชีพ, และปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง. (2563). การพัฒนาหลักสูตรการคิดเชิงออกแบบเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะนวัตกรของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 21(1), 102-117.

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 (2561, 17 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 199 ง, หน้า 19.

ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง มาตรฐานการพยาบาล พ.ศ. 2562 (2562, 18 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 97 ง, หน้า 30.

นุสรา นามเดช, จิราภา บุญศิลปะ, นงคาร รางแดง, และดวงดาว อุบลแย้ม. (2560). ผลของการสอนปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ในวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตต่อทักษะทางปัญญาของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 33(2), 111-120.

มะลิวรรณ อังคณิตย์, เรวดี สมทรัพย์, และบุษบา วงค์พิมล. (2563). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลโดยกระบวนการ มีส่วนร่วมของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(1), 107-117.

ศิริลักษณ์ ศิริปัญญวัฒน์, สุวลีย์ พยุงกิจสมบัติ, ธีรนันท์ สิงห์เฉลิม, นันทพร แสนศิริพันธ์, และอารีวรรณ กลั่นกลิ่น. (2558). นวัตกรรมทางการพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ: การพัฒนาเชิงระบบในการดูแลแผลกดทับ. พยาบาลสาร, 42(พิเศษ), 171-177.

ศิรเมศร์ โภโค, ดนัย ดุสรักษ์, และจักรพันธ์ กึนออย. (2562). การพัฒนาบาดแผลจำลองเพื่อฝึกทักษะการทำแผลของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ, 2(1), 267-279.

สายสมร เฉลยกิตติ, สรินทร เชี่ยวโสธร, และญาดา นุ้ยเลิศ. (2562). การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมสื่อการสอนเสมือนจริงโดยสมาร์ทโฟน. วารสารพยาบาลรามาธิบดี, 25(1), 5-15.

สุพรรณี กัณหดิลก, ตรีชฎา ปุ่นสำเริง, และชุติมา มาลัย. (2560). กลยุทธ์การสอนด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(4), 34-40.

สุดยินดี อภิสุข, และกุลรัตน์ บริรักษ์วาณิชย์. (2553). นวัตกรรมการบริหารทางการพยาบาล: ผลการพัฒนารูปแบบการกำหนดเกณฑ์แบ่งระดับความเสี่ยงของหน่วยงานต่อคุณภาพบริการพยาบาลในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์. วารสารกองการพยาบาล, 37(1), 13-27.

เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ. (2563). รูปแบบการจัดการศึกษาบูรณาการเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม ของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 10(1), 182-201.

แอน ไทยอุดม, สุวีณา เบาะเปลี่ยน, อริสรา อยู่รุ่ง, อุษณีย์ อังคะนาวิน, และชยุตรา สุทธิลักษณ์. (2561). การพัฒนานวัตกรรมชุดจำลองการพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายระบายทรวงอก. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(3), 44-53.

อัจฉรา คำมะทิตย์, และมัลลิกา มากรัตน์. (2559). การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ: วิธีการปฏิบัติทีละขั้นตอน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(3), 246-259.

Anderson, E. (2006). Growing great employees: Turning ordinary people into extraordinary performers. USA: Galliard.

Blackwell, L. S., Trzesniewski, K. H., & Dweck, C. S. (2007). Implicit theories of intelligence predict achievement across an adolescent transition: A longitudinal study and an intervention. Child Development, 78(1), 246-263.

Chosaaard. (2559, 18 มิถุนายน). บทเรียนนกอินทรี [Video file]. เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/ watch?v=Ag1-YAPsp0c

Crack Your Cocoon. (2559, 13 สิงหาคม). Crack Your Comfort Zone [Video file]. เข้าถึงได้จากhttps://www.youtube.com/watch?v=phj3cwz3guE

Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. New York: Random House Digital.

Kay, K. (2010). 21st Century skills: Why the matter, what they are, and how we get there. In Bellanca, J. & Brandt, R. (Eds.), 21 st Century skills: Rethinking how students learn. Bloomington: Solution Tree Press.

Melnyk, B. M., & Fineout-Overholt, E. (Eds.). (2011). Evidence-based practice in nursing & healthcare: A guide to best practice. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Melnyk, B. M., Fineout-Overholt, E., Stillwell, S. B., & Williamson, K. M. (2009). Evidence-based practice: step by step: Igniting a spirit of inquiry. AJN The American Journal of Nursing,109(11), 49-52.

Melnyk, B. M., Fineout-Overholt, E., Stillwell, S. B., & Williamson, K. M. (2010). Evidence-based practice: Step by step: The seven steps of evidence-based practice. AJN The American Journal of Nursing, 110(1), 51-53.