ประสิทธิภาพการใช้ชุดถุงมือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า ของนักศึกษาพยาบาลชัันปีที่2 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

Main Article Content

พาซีเราะห์ ตาเละ
โนร์ลามา อารง
ไซนูรอ นิเลาะ
นูรฮานาน หะยีอับดุลรอแม
ฟารูดา ดือเลาะ
เสาวนีย์ เปาะอาเดะ
สุรีณาร์ เทศอาเส็น
อามาณี ลุโบะกาแม
อามีเร๊าะห์ โว๊ะ
ซัซวาณี อาแวเลาะ
ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาชุดถุงมือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพการใช้งานระหว่างหุ่นฝึกทักษะการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำสำเร็จรูปกับชุดถุงมือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ลง(gif.latex?\bar{x}= 46.14, S.D. = 7.59) และคะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพการใช้ชุดถุงมือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำอยู่ในระดับสูงมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 64.00, S.D. = 6.32) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยประสิทธิภาพการใช้ชุดถุงมือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำสูงกว่าหุ่นฝึกทักษะการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำสำเร็จรูป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกจันทร์ เขม้นกา. (2555). หัตถการแทงน้ำเกลือผู้ป่วยเด็ก: กลยุทธ์การพยาบาลสู่ความสำเร็จ. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35(2), 131 – 139.

ปฐมามาศ โชติบัณ, กิตติพร เนาว์สุวรรณ, ธารินี นนทพุทธ, และจรูญรัตน์ รอดเนียม. (2556). นวัตกรรมชุดหุ่นฝึกทักษะการปฏิบัติการพยาบาล. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์,5(3), 1–12.

วิลาวัณย์พิเชียรเสถียร, ดารารัตน์ ด้ารงกุลชาติ, รัชนีย์วงศ์แสน, ธนพร กาวีวน, อารีย์ กุณนะ, และพัชรินทร์ เนตรสว่าง. (2557). การส่งเสริมการปฏิบัติของพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการจัดการสายสวนหลอดเลือดดำส่วนปลาย. พยาบาลสาร, 41(ฉบับพิเศษ), 71–87.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2559). การวิจัยและพัฒนาการศึกษาไทย. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 8(2), 1–18.

สุภลักษณ์ เฉยชม และดลรัตน์ รุจิวัฒนากร. (2558). การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลรามาธิบดี, 21(3), 395 – 407.

สุมาลี โพธิ์ทอง, แน่งน้อย สมเจริญ, และอภิสรา จังพานิช (บรรณาธิการ). (2559). การพยาบาลพื้นฐาน เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.