แนวคิดการบำบัดด้วยการรำลึกความหลัง: การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลสำหรับผู้สูงอายุสมองเสื่อม The concept of reminiscence therapy: Nursing implication for older persons with dementia

ผู้แต่ง

  • Yuttachai Chaiyasit Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Paiwan Kotta Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Khwanparpat Chanbunlawat Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Patcharaporn Wongarsa Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Napadol Seehapun Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

ภาวะสมองเสื่อมเป็นปัญหาที่สำคัญของผู้สูงอายุ ส่งผลกระทบต่อด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ การบำบัดด้วยการรำลึกความหลังเป็นการบำบัดด้านจิตสังคมที่พยาบาลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อม ทั้งนี้หลักฐานเชิงวิชาการสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์เชิงบวกต่อการทำหน้าที่ของสมอง ช่วยลดภาวะซึมเศร้า ลดความผิดปกติทางด้านพฤติกรรม ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุสมองเสื่อม บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับแนวคิดและผลลัพธ์ของการบำบัดด้วยการรำลึกความหลัง รวมทั้งการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล เพื่อเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป                                                                                               

Abstract

Dementia is a crucial problem in older persons. It has affected on physical, psychosocial, and spiritual dimension. Reminiscence therapy is a psychosocial therapy that can assist nurses to implement for nursing practice. Recent studies showed that the positive outcome of reminiscence therapy on cognitive function, reduce stress, prevent behavior problems and promote quality of life and spiritual well-being. This article aim to present the concept of reminiscence therapy, outcomes and nursing implement in order to effective nursing care for older persons with dementia. 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-05-07