THE EFFECT OF SELF HELP GROUP ON SENSE OF COHERENCE IN BREAST CANCER PATIENTS UNDERGOING CHEMOTHERAPY(ผลของกลุ่มช่วยเหลือตนเอง ต่อความเข้มแข็งในการมองโลก ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำาบัด)

ผู้แต่ง

  • Mallika Thadmala
  • Bumpenchit Sangchart

คำสำคัญ:

self help group, sense of coherence, breast cancer patients, chemotherapy กลุ่มช่วยเหลือตนเอง ความเข้มแข็งในการมองโลก ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม เคมีบำาบัด

บทคัดย่อ

This quasi-experimental study aimed to examine the effect of self help group on sense of coherence in breast cancer patients undergoing chemotherapy. Sample was breast cancer patients undergoing second or third courses of chemotherapy at chemotherapy unit, outpatient department, Srinagarind hospital. Purposive sampling was used to obtain a sample of 44 patients, who then were assigned to either the experimental or control groups (22 patients to each group) but remain 17 patients to experimental groups. The experimental group attended a self help group for four times with durations of three weeks in addition to receiving usual nursing care, while the control group received usual nursing care only. Research instruments included (a) a handbook of self help group for breast cancer patients undergoing chemotherapy and (b) comprising demographic data collection form and a sense of coherence interview scale with reliability of .89. Demographic data were analyzed using descriptive statistics t-test and chi-square test. Wilcoxon signed rank test and Mann-Whitney U test was used to compare sense of coherence scores. The study results revealed that after the experiment, the experimental group had significantly higher sense of coherence scores than before the experiment (< .05) and had significantly higher sense of coherence scores than the control group (<.05).

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเข้มแข็งในการมองโลก ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำาบัด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหญิงที่ได้รับเคมีบำาบัด ระหว่างรอบที่ 2-3 ในหน่วยเคมีบำาบัดผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำานวน 44 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำานวนกลุ่มละ 22 คน แต่กลุ่มทดลองคงเหลือ จำานวน 17 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับเข้ากลุ่มช่วยเหลือตนเองจำานวน 4 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 3 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือคู่มือกลุ่มช่วยเหลือตนเองสำาหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำาบัด แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบสัมภาษณ์ความเข้มแข็งในการมองโลก ที่มีค่าความเที่ยง .89 ข้อมูลทั่วไปวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติทีและสถิติไคสแควร์ เปรียบเทียบคะแนนความเข้มแข็งในการมองโลก ด้วยสถิติเครื่องหมาย-อันดับของวิลคอกซันและสถิติทดสอบแมนวิทนียู ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความเข้มแข็งในการมองโลกสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < .05) และหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความเข้มแข็งในการมองโลกสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p< .05)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-01-30