Perceptions of Symptoms of Myocardial Infarction among I-Saan Women: Ubonrachathani context (การรับรู้อาการโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายของผู้หญิงอีสาน : บริบทจังหวัดอุบลราชธานี)

ผู้แต่ง

  • Supian Pokathip
  • Siriporn Chirawatkul

คำสำคัญ:

perception, myocardial infarction, gender, women การรับรู้ กล้ามเนื้อหัวใจตาย เพศภาวะ ผู้หญิง

บทคัดย่อ

This phenomenology study aim was to exploring perceptions of symptoms of myocardial infarction based on gender perspective among I-Saan women in Ubonrachathani Province. Twenty-seven women who has been myocardial infarction were purposive sampling as key informants. Focus group discussion, in-depth interviews, and non participant observation were employed for data collection. Data were analyzed by content analysis. Find-ing of the study found essence three themes. First, fear and death were meaning of heart disease among I-Saan women that reflects perceptions of harm and the severity of the disease. Second, Phe Kao Jao Soon (suddenly chest pain, sweating). Unawareness heart attack symptoms, most of the participants did not recognize the symptoms that occurred as the symptoms of heart disease. Finally, patience and wait until serious conditions despite the warning signs then they went to hospital. Since I-Saan women have been cultivated for patient and considerate. In summary, women recognize that myocardial infarction is a risk of serious harm and death but they emphasized the role of the family regarding the gender norms. These reflect a lack of knowledge and well understood. They lack to access important information to neglect to seek treatment. Health care personals should encourage these women to raise awareness about symptoms of myocardial infarction and early health seeking.

การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการรับรู้อาการโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายของผู้หญิงอีสาน บริบทจังหวัดอุบลราชธานีโดยใช้มุมมองเชิงเพศภาวะ ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้หญิงอีสานที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจำานวน 27 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ได้ข้อค้นพบ 3 ประเด็น คือ 1) โรคหัวใจ …หวั่นไหวหวาดกลัวกับความตาย เป็นการให้ความหมายที่สะท้อนถึงความรู้สึกหวาดกลัวและรับรู้ถึงความรุนแรงของโรค 2) อาการผีเข้าเจ้าสูน… เดี๋ยวก็หายไม่คิดว่ากลายเป็นโรคหัวใจ ผู้หญิงไม่รับรู้ว่าอาการที่เกิดขึ้นเป็นอาการของโรคหัวใจ 3) รอจนยางตายออก…จึงมารักษา ผู้ให้ข้อมูลไม่ได้ให้ความสำาคัญกับอาการที่เกิดขึ้นแต่จะอดทนจนอาการหนักจึงมาโรงพยาบาลถึงแม้จะมีอาการเตือนนำามาก่อน เนื่องจากได้รับการปลูกฝังให้อดทนและเกรงใจ สรุปแม้ผู้หญิงจะรับรู้ว่าโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเป็นโรคที่อันตรายร้ายแรงเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ง่ายแต่ผู้หญิงยังให้ความสำาคัญกับบทบาทในครอบครัวเป็นหลัก เนื่องจากบรรทัดฐานเชิงเพศภาวะ และสะท้อนถึงการขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การขาดโอกาสเข้าถึงข้อมูลที่สำาคัญในผู้หญิงจึงละเลยต่อการแสวงหาการรักษา บุคลากรสุขภาพจึงควรมีการให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักแก่ผู้หญิงให้มาโรงพยาบาลที่รวดเร็ว

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-01-30