Development guideline of Antenatal care for adolescent pregnancy by family participation in Health care network of Chaiburi District, Surat Thani Province. (การพัฒนาแนวทางการให้บริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยครอบครัวมีส่วนร่วมในคลินิกฝากครรภ์ เครือข่ายบริการสุขภาพฯ)

Authors

  • Wasana Thinkhanon
  • Wilawan Chomnirat

Keywords:

adolescent pregnancy, family participation, guideline of antenatal care หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ครอบครัวมีส่วนร่วม แนวทางการให้บริการฝากครรภ์

Abstract

This study is a part of action research aims to develop antenatal care guideline that encourage family participation in care for adolescent girls who are pregnant. Participants and key informants are 10 healthcare providers, 18 pregnant girls, and 7 family members. Collect data by in-depth interview and focus group discussion and record form for participatory observation. Content analysis technique is used for data analysis. Results from situational analysis indicate problems and needs for improvement that include 1) lack of antenatal care knowledge among providers, 2) failure to prevent repeat teenage pregnancy, 3) need more time for suggestion and consultation from healthcare personnel, 4) lack of knowledge and readiness for motherhood, and 5) lack of family care for pregnant girls. Consequently, researcher and study participants agree to solve problems by increasing knowledge and skills in antenatal care for healthcare providers and developing healthcare services in teenage pregnant clinic that respond to actual needs of the girls and family.

การศึกษาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการให้บริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นโดยครอบครัวมีส่วนร่วมในคลินิกฝากครรภ์ ผู้ร่วมวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้บริการสุขภาพ 10 คน หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น 18 คน และสมาชิกครอบครัวหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น 7 คน รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบปัญหาความต้องการดังนี้ 1)ผู้ให้บริการสุขภาพไม่มีความรู้เฉพาะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น 2)การป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้าไม่ได้ผล 3)ต้องการให้เจ้าหน้าที่มีเวลาให้คําแนะนํา คําปรึกษามากขึ้น 4) หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นขาดความรู้ในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมสําหรับการคลอด การเลี้ยงดูบุตร 5) ครอบครัวขาดการมีส่วนร่วม ผู้ร่วมวิจัยเสนอแนวทางการพัฒนาดังนี้ 1) พัฒนาความรู้และทักษะของผู้ให้บริการสุขภาพ 2) พัฒนาแนวทางการให้บริการโดยจัดตั้งคลินิกสําหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น กําหนดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการ ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการวิจัยปฏิบัติการ ทําให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นและครอบครัวได้ร่วมกันเสนอแนวทางการให้บริการสุขภาพที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการ ทําให้มีการจัดตั้งคลินิกสําหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นขึ้น และผู้ให้บริการสุขภาพมีแนวทางการให้บริการฝากครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นโดยครอบครัวมีส่วนร่วม

Downloads

Published

2013-01-30

How to Cite

1.
Thinkhanon W, Chomnirat W. Development guideline of Antenatal care for adolescent pregnancy by family participation in Health care network of Chaiburi District, Surat Thani Province. (การพัฒนาแนวทางการให้บริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยครอบครัวมีส่วนร่วมในคลินิกฝากครรภ์ เครือข่ายบริการสุขภาพฯ). JNSH [Internet]. 2013 Jan. 30 [cited 2024 Mar. 29];35(2):25-33. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/5386