การดูแลผู้ป่วยติดเตียงในครอบครัว: โสเหล่เสวนาเพื่อภารกิจพิชิตใจตนเอง
คำสำคัญ:
การดูแลผู้ป่วยติดเตียงในครอบครัว, การรับมือภาวะวิกฤต, ประสบการณ์การพิชิตใจตนบทคัดย่อ
นำเสนอประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยติดเตียงในครอบครัว โดยเป็นข้อมูลที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม ได้จากประสบการณ์ในฐานะนักวิชาการการพยาบาลครอบครัว และในฐานะผู้ดูแลสมาชิก ในครอบครัวที่ติดเตียง ทั้งนี้ ข้อมูลสำคัญทั่วโลกชี้ให้เห็นภยันตรายในปัจจุบัน นอกเหนือจากโรคระบาด นานาชนิดนอกจากโควิด 19 แล้ว ยังมีภัยคุกคามที่เป็นเพชฌฆาตเงียบทางระบาดวิทยา คือ โรคไม่ติดต่อ โดยพบว่า ปัญหาภาวะสุขภาพเรื้อรังร่วมกับภาวะสูงวัยก่อให้เกิดภาวะพิการ ทุพพลภาพของคนทั่วโลก ถึงร้อยละ 15 หรือประมาณ 44 ล้านคน โดยมีสาเหตุจากโรคไม่ติดต่อเป็นสำคัญของความพิการมากที่สุด มีความบกพร่องทางร่างกายจิตใจ การรับรู้ ความเข้าใจ การสื่อสารและประสาทสัมผัส กลายเป็นต้องพึ่งพิงผู้อื่น นำมาซึ่งการสูญเสียวิถีชีวิตและคุณภาพชีวิตตามปกติที่บุคคลเคยมี เพราะต้องกลายเป็นคนพึ่งพา ขาดซึ่งศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ยังนำมาซึ่งภาระในครอบครัวที่ต้องดูแลอีกด้วย นับเป็นภาวะวิกฤตและความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลที่ต้องรับมือกับภาวะสูญเสียความสมดุลในชีวิตเกิดกระบวนการเศร้าโศก ซึ่งหากขาดความเข้าใจอาจนำมา ซึ่งการล่มสลายของชีวิตครอบครัว เพราะไม่สามารถปรับตัวรับมือต่อภาวะวิกฤตในชีวิตครอบครัวได้ ดังนั้น ประสบการณ์ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงนี้ อาจเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจนำไปประยุกต์ใช้หรือต่อยอดทางวิชาการวิจัยให้เกิดประโยชน์แก่สังคมต่อไปได้
References
World Health Organization. WHO international classification of functioning, disability and health (ICF) [Internet]. Geneva: WHO; 2021. [updated 2021; cited 2021 January 17]. Available from: http://www.who.int/classifications/icf/en/
Ottiger B, Lehnick D, Pflugshaupt T, Vanbellingen T, Nyffeler T. Can i discharge my stroke patient home after inpatient? neurorehabilitation LIMOS cut-off scores for; stroke patients “living alone” and “living with family”. Front Neurol 2020;11:601725.
Broussy S, Rouanet F, Lesaine E, Domecq S, Kret M, Maugeais M, et al. Post-stroke pathway analysis and link with one-year sequelae in a French cohort of stroke patients: the PAPASePA protocol study. BMC Health Serv Res 2019;19(1):770.
Anderson JL, Heidenreich PA, Barnett PG, Creager MA, Fonarow GC, Gibbons RJ, et al. ACC/AHA statement on cost/value methodology in clinical practice guidelines and performance measures: a report of the American College of Cardiology/American Heart Association Task Force on Performance Measures and Task Force on Practice Guidelines. J Am Coll Cardiol 2014;63(21):2304-22.
Boonpakdee N. Family is not an institution, but it is a set of relationships: New glasses to look at Thai families in an era without definition [Internet]. 2018. [updated 2021; cited 2021 June 25th]. Available from: http://www.thee111.world (in Thai)
Division of Noncommunicable Diseases, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. Non-communicable disease information [Internet]. Nonthaburi: Division of Noncommunicable Diseases, Department of Disease Control, Ministry of Public Health; 2018 [updated 2018; cited 2020 February 22]. Available from: http://www.thaincd.com/2016/mission/documentsdetail.php?id=13684&tid=32&gid=1-020
Muangpaisarn W. Neurological emergencies common in the elderly. In: Muangpaisan W, editor. Emergency management for the elderly. Bangkok: Pappim; 2014:p. 134-66. (in Thai)
Phupaibul R, Nitayasuthi D, Deoisres W, Jongudomkarn D, Kumhom R, Tejagupta C, et al. The development of Thai family well-being (FWB) scale. JFONUBUU 2020;28(1):26-37. (in Thai)
Jongudomkarn D, Wacharasin C, Deoisres W, Surakarn P, Phupaibul R. Families and health care of family members with illnesses: proposals from document research. Journal of Nursing Sciences and Health 2015;38(4):92-9. (in Thai)
Kübler-Ross E. On death and dying. New York: Macmillan; 1969.
McCubbin LD, McCubbin HI. Resilience in ethnic family systems: a relational theory for research and practice. In: Handbook Fam Resilience. New York, NY: Springer; 2013:p.175-5.
Jongudomkarn D. Family health nursing: concept and theory implications for crisis intervention. 5th ed. Khon Kaen: Khlangnanawitaya; 2023. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ