การพัฒนาพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้สูงอายุ บ้านยองแยง ตำบลหนองระเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
การเสริมสร้างพลังอำนาจ พฤติกรรมการออกกำลังกาย ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้สูงอายุ โดยประยุกต์แนวคิดของ Susman ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ 2) การวางแผนปฏิบัติงาน 3) การลงมือปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกาย 4) การประเมินผลกิจกรรมการออกกำลังกาย 5) การปรับปรุงผลจากการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้สูงอายุ จำนวน 35 คน และผู้ให้ข้อมูลจำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการออกกำลังกาย แนวทางการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถี่ และสถิติทดสอบค่าที (paired t-test)
ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมกระบวนการ มีความรู้เรื่องการออกกำลังกาย ความตระหนักในการออกกำลังกาย การรับรู้ความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมในการออกกำลังกาย สูงกว่าก่อนเข้าร่วมกระบวนการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
2. National Statistical Office. The 2014 Survey of the Older persons in Thailand [Internet]. 2014[cited 2019 October 24]. Available from: http://www.dop.go.th/download/knowledge/ knowledge_th _20162508144025_1.pdf (in Thai)
3. The medical news. Thai elderly powerful age [Internet]. 2014 [cited 2019 October 24]. Available from: http://www.wongkarnpat.com/viewpat.php?id=1670#.XbEqIOgzbIU (in Thai)
4. Ministry of public health. Department of Health. Bureau of Health Promotion [Internet]. 2014 [cited 2019 October 24]. Available from: http://hp.anamai.moph.go.th/ ewtadmin/ewt/hp/ewt_dl_link.php?nid=419 (in Thai)
5. Nongraviang Subdistrict Administration Organization. Three-year development plan (2016-2018). Nakhon Ratchasima; 2016.
6. Gibson, C.H. The concept analysis of empowerment. Journal of Advanced Nursing 1991; 16(8): 351-361.
7. Nichanan W. The development of exercise promotion model of the elderly by the participation of the community in Khok Kruat Subdistrict, Mueang District, Nakhon Ratchasima [Thesis]. Graduate School, Nakhon Ratchasima Rajabhat University. 2010.
8. Sunthorn S. Development of self-care behavior of the aged by empowerment process, Ban Nongpluang, Nongpluang subdistrict, Chakkarat district, Nakhon Ratchasima province [Thesis]. Graduate School, Nakhon Ratchasima Rajabhat University. 2008.
9. Susman I. Steps involved in action research model. New Jersey: Prentice-Hall; 1983.
10. Watcharin N. Factors affecting exercise behavior of member in the health promotion clubs sukhothai province. Academic Journal Institute of Physical Education. 2014; 6 (2): 51-63. (in Thai).
11. Siriporn S. Effect of promoting ascetic exercise program for the elderly aging group by applying self efficacy theory and social support in Namphong District, Khon Kaen Province. Srinagarind Medical Journal 2014; 29 (3): 304-310. (in Thai).
12. Tipada P. Development of exercise activity model for elderly club member by community participation at Tumbon Pruyai, Amphoe Mueang, Changwat Nakhon Ratchasima. Ratchaphruek. Journal 2013; 10 (2): 96-103. (in Thai).
13. Itthiphon K. Effects of Pender’s health promoting model on exercise behavior for elderly in Khon San District, Chaiyaphum Province [Thesis]. Faculty of Public Health , Mahasarakham University. 2012.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ