ผลของโปรแกรมสนับสนุนและให้ความรู้ ด้วยสมุดภาพการ์ตูน กิจกรรมการเล่น และการเยี่ยมบ้าน ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย
-
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการดูแลตนเอง โปรแกรมสนับสนุนและให้ความรู้ โรคธาลัสซีเมียบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi - experimental research) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสนับสนุนและให้ความรู้ ด้วยสมุดภาพการ์ตูน กิจกรรมการเล่นและการเยี่ยมบ้าน ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยเรียนทีมารับการรักษาด้วยโรคโรคธาลัสซีเมีย ณ หอผู้ป่วยเด็กโต โรงพยาบาลมหาสารคามจำนวน 30 คนโดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 15 คน ซึ่งได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลอง 15 คน จะได้รับโปรแกรมสนับสนุนและให้ความรู้ ประกอบด้วยสื่อ สมุดภาพการ์ตูน และจัดกิจกรรมการเล่น ตามด้วยการติดตามเยี่ยมบ้าน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลตนเองตามกรอบแนวคิดทฤษฎีของโอเร็ม ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านได้ค่า CVI เท่ากับ 0.63 และตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสัมภาษณ์ทั้งฉบับ ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.74 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test
References
treatment of diseases: Blood that is common in Thailand. Bangkok; 2014.
2. Tojarus K. Thalassemia : Diagnosis and screening of carriers. Boonchian Pansathienkun
(Editor). Thalassemia and advice. Bangkok; 2007.
3. Tojarus K. (2013). Thalassemia: Iron overload, clinical consequences and iron chelators.
Accessible from https://www.thalassemia.or.th/ magazine/18-1/tf-magazine-12-06.pdf
4. Sanguanpong Y. Relationship between selected factors and self-care of pediatric patients Thalassemia,
Chaiyaphum Hospital. [master’s Thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2008. (in Thai).
5. Naka P. (2551). Family experience in caring for children with thalassemia. [Thesis]. Phitsanulok:
Naresuan University; 2008. (in Thai).
6. Information. Patient statistics, Mahasarakham Hospital. Mahasarakha ; 2014.
7. Orem, D.E. Nursing:Concept of Practice. 5thed. St Louis: Mosby Year Book; 1995.
8. Chantachum W. Nursing research: Sample selection and sample size determination Khon Kaen; 2002.
9. Mookrod S. Effcts of supportive-educative nursing system on maternal care behavior and self care behaviors of school age children with thalassemia. [Thesis]. Bangkok: Chulalongkorn University; 2008. (in Thai).
10. Ritjaroon P. Principles of measurement and evaluation of education. Bangkok; 2009.
11. Chamontree J. The effects of preparation program on self-care behaviors for school-age children
with thalassemia admitted in hospital. [Thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2008.
(in Thai).
12. Piasupan R. The effects of educative supportive program using VCD and handbook on
caregivers’ caring behaviors for school age epilepsy.[Thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2009. (in Thai).
13. Ngokwong C. The effect of learning program through a group process and cartoon story book on self care behavior in school age children with thalassemia. [Thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2009. (in Thai).
14. Thepbangchak P., Potchanamart C. and Senarat W. The Effects of providing information through
Comic books on knowledge of infection prevention of school-age children. Thai Journal of
Nursing Council Vol. 23 No.4 October-December 2008.
15. Suttirat.C. 80 Innovative learning-focused learning management. Bangkok; 2009.
16. Intharakamhang A. Changing health behavior. Bangkok; 2009
17. Sutchukorn S. Art of service. Bangkok; 2007.
18. Orem, D.E. Nursing:Concept of Practice. 6thed. St Louis: Mosby Year Book; 2001.
19. Hancharoenkun S. (Editor). Self-care: science and art in nursing. Bangkok; 2001.
20. Jirakal C. The effect of supportive nursing system and provide knowledge on self-care behaviors and
caring behavior of people who rely on diabetes and family. [Thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen
University; 2007. (in Thai).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ