Patients’ Perceptions of Nurses’ Caring Behaviors and Post-operative Pain Management on the Surgical Wards of Jigme Dorji Wangchuk National Referral Hospital in Bhutan (การรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการดูแล และการจัดการความปวดหลังผ่าตัดของพยาบาล ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมฯ)

ผู้แต่ง

  • Krishna Singh Monger
  • Bumpenchit Sangchart

คำสำคัญ:

patients’ perceptions, nurses’ caring behavior, post-operative pain management. การรับรู้ของผู้ป่วย พฤติกรรมการดูแลของพยาบาล การจัดการความปวดหลังการผ่าตัด

บทคัดย่อ

The objective of this cross-sectional descriptive study was to examine which nurses’ caring behaviors were perceived as most and least important in caring for and nursing care on post-operative pain management on surgical wards. Watson’s theory of caring was used as a theoretic framework for this study. Stratifed random sampling was employed to recruit 246 subjects who were admitted post-operatively to the surgical, orthopedics or obstetrics wards of Jigme Dorji Wangchuk National Referral Hospital (JDWNRH) in Bhutan. Questionnaires were analyzed for content validity and reliability. Data was analyzed using descriptive statistics, Analysis of Variance (ANOVA), and Pearson’s correlation coeffcient. Results show that “Give me treatments and medications on time” was rated as the most important nurses’ caring behavior and “Talk to me about my life outside of the hospital” was the least important nurses’ caring behavior. The ‘post-operative pain management’ tool results revealed that nurses had insuffcient knowledge in this area of patient care. The ANOVA test revealed that there were statistically signifcant differences in perceptions of nurses’ caring behaviors among different ethnic groups and education levels (p < 0.05), and Pearson’s correlation coeffcient showed patients’ perceptions of nurses’ caring behaviors had signifcant positive correlation with patients’ perceptions of post-operative pain management (r = 0.143, p < 0.05).

การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการดูแลของพยาบาลที่ผู้ป่วยรับรู้ว่ามีความสำาคัญมากที่สุดและน้อยที่สุดและการพยาบาลในการจัดการความปวดหลังผ่าตัดของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยศัลยกรรม ใช้ทฤษฎีการดูแลของวัตสันเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นจากประชากรซึ่งเป็นผู้ป่วยที่เข้าพักรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูกและข้อ และสูติกรรมของโรงพยาบาลแห่งชาติจิกมี ดอจิ วังชุก ทิมพู-ภูฏาน จำานวน 246 คน เครื่องมือในการวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงและความเชื่อมั่นจากผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือ การทดสอบความแปรปรวน และการหาสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการดูแลของพยาบาลที่ผู้ป่วยรับรู้ว่ามีความสำาคัญมากที่สุดคือ การให้การรักษาและให้ยาตรงเวลา และให้ความสำาคัญน้อยที่สุด คือ การพูดคุยเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับชีวิตของผู้ป่วย และพยาบาลมีความรู้ไม่เพียงพอในการจัดการความปวด และพบว่าชาติพันธุ์และการศึกษามีผลต่อการรับรู้พฤติกรรมการดูแลของพยาบาล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) และผลของการหาสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า การรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการดูแลของพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ของผู้ป่วยต่อการจัดการความปวดหลังผ่าตัดของพยาบาล ( r = 0.143, p < 0.05)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2012-06-16