Guidelines to Promote Health for Pre-Hypertension in Community at Suratthani Province (แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ระยะก่อนความดันโลหิตสูงในชุมชนแห่งหนึ่ง ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี)
คำสำคัญ:
pre-hypertension, health promotion for pre-hypertension, กลุ่มเสี่ยงระยะก่อนความดันโลหิตสูง การสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงระยะก่อนความดันโลหิตสูงบทคัดย่อ
The action research was conducted with the purposes to investigate the situation and develop a health promotion guideline for pre-hypertension individuals in community. The study was undertaken in 4 phases including 1) analysis of the situation, 2) designing the health promotion program, 3) implementing and refecting the program, and 4) evaluating outcomes of the program. Results from situational analysis of health promotion for pre-hypertensive individuals revealed several problems. Most participants correctly perceived about hypertension and its precipitating factors. However, risk behaviors for pre-hypertension and cardiovascular disease were common among these individuals. The participants reported regular consumption of high sodium and high fat content diets. Most participants exercise less than 3 times a week. The community context was enabling these risk. There were many food venders and convenient stores within the community. Consequently, To designed a health promotion program that consisted of the following activities. First, personal skills improvement by organizing a workshop to exchange the knowledge related to healthy such as low sodium diets, and anti-hypertension diets, and encouraged proper regular exercise. Evaluation of the project implementation indicated that at-risk participants had reduction in consuming high-sodium diet and high fat content diets and increased amount of regular exercise. No new cases of hypertension were found in this community in three month.
การพัฒนาแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงระยะก่อนความดันโลหิตสูงในชุมชน เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน โดยการศึกษาสภาพการณ์ ออกแบบบริการสุขภาพ ปฏิบัติและสะท้อนผลการปฏิบัติ ประเมินผลการดำาเนินงาน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มเสี่ยงมีปัจจัยเสี่ยงสนับสนุนต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ รับประทานอาหารรสเค็ม อาหารไขมันสูง ออกกำาลังกายน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ บริบทชุมชน ส่งเสริมให้มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ มีร้านอาหารปรุงสำาเร็จและร้านสะดวกซื้อ ชุมชนได้ร่วมกันออกแบบบริการสุขภาพและพัฒนาในระยะแรกโดยพัฒนาทักษะส่วนบุคคลเรื่องการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงและเพิ่มอาหารต้านความดันโลหิตสูง การออกกำาลังกายที่ถูกต้อง ผลการดำาเนินงาน กลุ่มเสี่ยงรับประทานอาหารรสเค็มและอาหารไขมันสูงลดลง ออกกำาลังกายเพิ่มขึ้น ในระยะเวลา 3 เดือนไม่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่เกิดขึ้นในชุมชน
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ