Development การพัฒนาแบบประเมินชุมชนบนระบบออนไลน์ สำหรับกระบวนวิชาการพยาบาลสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ:
Web-based Community Assessmentบทคัดย่อ
การใช้ Google Docs เป็นโปรแกรมประยุกต์บนเว็บฟรีมาพัฒนาเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เตรียมการ ระยะที่ 2 ดำเนินการวิจัยโดยพัฒนาแบบสอบถามออนไลน์ และระยะที่ 3 ประเมินผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินชุมชนบนระบบออนไลน์ และศึกษาความสามารถในการใช้งานสำหรับกระบวนวิชาการพยาบาลสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 94 คน ผลวิจัย พบว่า ความสามารถในการใช้งาน คือระบบใช้งานได้ง่ายอยู่ในระดับมากถึงร้อยละ 62.80 และในภาพรวมแบบประเมินชุมชนบนระบบออนไลน์มีความน่าใช้งานอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 63.80
References
2. ศิวพร อึ้งวัฒนา. (2560). การพยาบาลชุมชน:กระบวนการพยาบาล. เชียงใหม่: สยามโค้ตติ้งแอนด์เซอร์ วิชจำกัด.
3. คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564.(2560). ร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 –2564. นนทบุรี: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เข้าถึง ได้จาก http://wops.moph.go.th/ops/oic/data/20161115144754_1_.pdf.เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2560
4. พรพรรณ ทรัพย์ไพบูลย์กิจ และศิวพร อึ้งวัฒนา. (2556). การพยาบาลชุมชน:วิวัฒนาการของ การสาธารณสุข และการพยาบาลอนามัยชุมชน. เชียงใหม่: โรงพิมพ์นานา
5. กลุ่มวิชาการพยาบาลสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). ประมวลรายวิชา 551392 : การฝึกปฏิบัติการพยาบาลชุมชน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6. จริยาวัตร คมพยักฆ์. (2554). การพยาบาลอนามัยชุมชน: แนวคิด หลักการและการปฏิบัติการ พยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุดทอง.
7. โอภาส เอี่ยมศิริวงศ์. (2545). การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
8. ไสว ฟักขาว, (2560). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21, Retrieved from
http://web.chandra.ac.th/blog/wp-content/uploads/2015/ทักษะแห่งศตวรรษที่-21-พับ. pdf
9. ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. Goolgle Apps for Education: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561, จาก http://web.sut.ac.th/g/index.php/documentation/google-docs.
10. อิทธิพล มะโนน้อม, SurveyCan แบบสอบถามออนไลน์ ที่ให้มากกว่าที่คุณคิด, สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2561, จาก http://km.citu.tu.ac.th/km/wp- content/uploads/2011/12/Surveycan1.pdf
11. สุรเชษฐ์ สุทธิรัตนพร. (2548). การพัฒนาระบบแบบสอบถามออนไลน์สําหรับการวิจัยทาง พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา, 3 (1), 154-177.
12. ศิริพร ตั้งวิบูลย์พาณิชย์. (2557). การพัฒนาโปรแกรมเพื่อประมวลผลแบบสอบถาม โดยใช้ภาษา VBA ในโปรแกรมสำเร็จรูปไมโครซอฟต์เอ็กเซล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6 (12), 59-70.
13. สำนักบริหารงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แนวทางจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21, Retrieved from https://webs.rmutl.ac.th/แนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21.pdf
14. ศิวพร อึ้งวัฒนา วิลาวัณย์ เตือนราษฎร์ และวราภรณ์ บุญเชียง. (2561). การพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลงานอนามัยครอบครัวกลุ่มกระบวนวิชาการพยาบาลสาธารณสุข คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พยาบาลสาร. 45(2): 125 -134.
15. ประเวศ เวชชะ. (2537). การพัฒนาโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลของโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ