สมรรถนะด้านการพยาบาลครอบครัวของพยาบาลวิชาชีพ ณ หน่วยบริการหลังคลอด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กระทรวงสาธารณสุข
คำสำคัญ:
Key Words: Family Nursing, Competency, Professional Nurse, Postnatal Care Unitบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาเชิงบรรยายนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาสมรรถนะด้านการพยาบาลครอบครัวของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ณ หน่วยบริการหลังคลอด โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรเป็นพยาบาล 237 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามที่พัฒนาตามกรอบแนวคิดสมาคมพยาบาลครอบครัวนานาชาติและสภาการพยาบาลไทย มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา 0.80 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยสมรรถนะการพยาบาลครอบครัวโดยรวมมีระดับสูง (=3.80,S.D = 0.53) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือสมรรถนะการเสริมสร้างสุขภาพครอบครัว(=3.92, SD =0.59) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือการปฏิบัติการพยาบาลกับผลลัพธ์สุขภาพครอบครัว (=3.74, SD =0.56) ดังนั้นผู้บริหารการพยาบาลควรนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อวางแผนพัฒนาสมรรถนะด้านการพยาบาลครอบครัวของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการหลังคลอดให้อยู่ในระดับสูงทุกด้านต่อไป
คำสำคัญ: การพยาบาลครอบครัว สมรรถนะ พยาบาลวิชาชีพหน่วยดูแลหลังคลอด
References
1. Chunthai K, Sathira-ankura T, Prapaprom P, Ponmanajirangkul R. Standard of mental health and psychiatric nursing practice. Nonthaburi: Department of Mental Health, Ministry of Public Health (Thailand); 2013. (In Thai)
2. Khampalikit S. Competencies of registered nurses. 2nd ed. Bangkok: Thailand Nursing and Midwifery Council; 2013. (In Thai)
3. Thaweesook P. Framework and principle of maternal and newborn nursing with standard and ethic. In: Suwan W, editor. Framework and principle of maternal and newborn nursing with standard and ethic. 2nd ed. Bangkok: Boromarajonani College of Nursing Bangkok; 2014. (In Thai)
4. Health Department, Bangkok Metropolitan Administration. Nursing Personnel Competencies Development Manual, Health Department, Bangkok Metropolitan Administration. Bangkok: Health Department, Bangkok Metropolitan Administration; 2011. (In Thai)
5. Hammes T, Sebold LF, Kempfer SS, Girondi JB. Nursing care in postpartum adaptation: perceptions of Brazilian mothers. J Nurs Educ Pract 2014; 4(12): 125–33.
6. Ebirim LN, Buowari OY, Ghosh S. Physical and psychological aspects of pain in obstetrics. In: Ghosh S, editor. Pain in perspective. London: InTech; 2012, p. 216–36.
7. Rattananon N. Neonatal nursing. In: Anansawat S, editor. Obstetrics nursing. Vol 3. 12th ed. Nonthaburi: Academic Welfare Scholarship, Praboromarajchanok Institute; 2014, p. 559–80. (In Thai)
8. Sawatphanit W. Nursing care for postpartum mothers. 7th ed. Chon Buri: Srisilp Publishing; 2011. (In Thai)
9. Klaraeng. Obstetrics nursing. 12th ed. Surin: Boromarajonani College of Nursing, Surin; 2014. (In Thai)
10. Hengyotmark A. Competency of Professional nurses. In: Kusoom W, editor. Trends & issue of nursing profession. 2nd ed. Bangkok: Sahaprachaphanit Publishing; 2012, p. 345–81. (In Thai)
11. International Family Nursing Association. position statement on generalist competencies for family nursing practice. Pittsburgh, PA: IFNA; 2015.
12. Sumkert J. Postpartum nurses’competencies, Uttaradit Hospital. [Thesis]. Chaing Mai: Graduate School, Chaing Mai University; 2007. (In Thai)
13. Benner PE. From novice to expert: excellence and power in clinical nursing practice. Commemorative ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall; 2001.
14. Khunthar K. The impacts and solutions to nursing workforce shortage in Thailand. J Nurs Sci 2014; 32(1): 81–90. (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ