การพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนของโรงพยาบาลพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
คำสำคัญ:
การพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยง, กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง, การวิจัยเชิงปฏิบัติการบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มุ่งพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนของโรงพยาบาลพัฒนานิคม ด้วยแนวคิดต้นแบบการดูแลโรคเรื้อรังภาคขยาย ผู้ร่วมดำเนินการวิจัยเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 47 คน และผู้เกี่ยวข้อง 28 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่มและสังเกตอย่างมีส่วนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลวิจัยพบว่าเกิดระบบโครงสร้าง กำหนดบทบาทหน้าที่และการส่งต่ออย่างชัดเจน มีการพัฒนาเครื่องมือใช้คัดกรองสำหรับ อสม. เป็นผลให้พบกลุ่มเสี่ยงได้เร็วขึ้น กลุ่มเสี่ยงและแกนนำชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีความรู้เพิ่มขึ้นและปรับพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยรูปแบบกลุ่มสัมพันธ์ในชุมชน เกิดชมรมเลิกบุหรี่ และมีการเฝ้าระวังป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน
สรุปได้ว่า ความสำเร็จในการพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน ควรเน้นงานเชิงรุก เพื่อสร้างการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงให้เกิดความตระหนัก และเสริมพลังด้วยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
References
Tiamkao S. Diseases, world, paralysis [Application] [online]; 2015 [cited 2017 Jan 20]. Available from: Fast Track application on a smartphone.
World Stroke Organization. World stroke day 2016: Why act NOW! [online]; 2016 [cited 2017 March 17]. Available from: http://www.worldstrokecampaign.org/about-the-world-stroke-campaign/why-act-now.html/
Thai Stroke Society. Stroke situation [online] [n.d.]; 2016 [cited 2016 December 11]. Available from: https://thaistrokesociety.org/purpose/
Williams J, Perry L, Watkins C. Acute stroke nursing. United Kingdom: Blackwell Publishing Ltd; 2010.
World Stroke Organization. World stroke day [online]; 2017 [cited 2018 March 15]. Available from: from https://www.worldstrokecampaign.org/get-involved/world-stroke-day.html/
Tone K, Green J. Health promotion: Planning and strategies. London: Taylor & Francis; 2004.
Onapai K. The application of pender’s health promotion model for improving behavior to reduce the risk of cerebrovascular disease among risk patients at Bantaen sub-district, Bantaen district, Chaiyapum Province [Master of Public Health Thesis in Health Eduation and Health Promotion] Khonkaen: The Graduate School, Khon Kaen University; 2008. [in Thai]
American Heart Association/American Stroke Association. Guidelines for the primary prevention of stroke [on line]; 2014 [cited 2016 January 12]. Available from: http://stroke.ahajournals.org/
Bureau of NCD. NCD quality clinical practice assessment guide for fiscal year 2015. Nonthaburi: Ministry of Public Health; 2015.
Tiamkao S, Sinhphoo K, Kongbunkiat K, Aountri P. A complete guide to managing stroke services. Khon Kaen: Klungnana Printing Press; 2012.
Pattananikom Hospital. Outpatient statistics report of Phatthana Nikom hospital. Lopburi: Office coppy; 2018.
Barr VJ, Robinson S, Marin-Link B, Underhill L, Dotts A, Ravensdale D, et al. The expanded chronic care model: An integration of concepts and strategies from population health promotion and the chronic care model. Hodpiysl Quarterly 2003;7:73-82.
Kemmis, McTaggart. The action research planner. Victoria: Deakin University; 1998.
Ruttawongsa A, Kongtaln O. The development of the community-based continuing care management guideline for stroke survivors of Kosumpisai Hospital and it’s network. In: Manmart L, editors. Graduate research conference. The 13th Graduate Research Conference Khon Kaen University; 2012 Feb 17; College of Local Administration, Khon Kaen University. Khon Kaen: Graduate School Khon Kaen University; 2012. p.670-10.
Samran P, Limtragool P. Improving a healthcare system for patients with chronic obstructive pulmonary disease in Chum Phuang Hospital. Journal of Nurses’ Association of Thailand, North-Eastern Division 2013; 31:16-23.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ห้ามผู้ใดนำบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพไปเผยแพร่ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การนำบทความไปเผยแพร่ออนไลน์ การถ่ายเอกสารบทความเพื่อกิจกรรมที่ไม่ใช่การเรียนการสอน การส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่อื่น ยกเว้นเสียแต่ได้รับอนุญาตจากวารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ