ทิศทางประเด็นงานวิจัยของวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2021.6คำสำคัญ:
ประเด็นงานวิจัย, การวิเคราะห์เนื้อหา, การวิเคราะห์บรรณมิติบทคัดย่อ
ในยุคปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงและเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลการปรับตัวขององค์กร การสร้างความได้เปรียบทางการแข็งขันทำให้ธุรกิจต้องมีการพัฒนาและปรับปรุง เพื่อความอยู่รอดขององค์กร หน่วยงานภาครัฐจึงมีการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติเพื่อส่งเสริมประเด็นงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อสำรวจและรวบรวมงานวิจัย และ 2. เพื่อศึกษาแนวโน้มประเด็นงานวิจัย โดยกำหนดข้อมูลจากาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ซึ่งบทความที่ทำการศึกษาจำนวน 65 บทความ จากฐานข้อมูลที่เป็นมาตรฐานและตามเงือนไขที่กำหนดไว้ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์บรรณมิติ ผลการวิจัยพบว่าบทความวิจัยส่วนใหญ่รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ระดับนานาชาติ (Scopus) จำนวน 47 บทความ และ ฐานข้อมูลระดับชาติ TCI 18 บทความ และการวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ และกลุ่มธุรกิจที่มีการศึกษามากที่สุด คือ ขนส่งและโลจิสติกส์ สอดคล้องกับการวิเคราะห์บรรณมิติพบว่า Supply Chain เป็นคำสำคัญที่พบมากที่สุด สะท้อนให้เห็นว่าอาจารย์ส่วนใหญ่ของวิทยาลัยฯ มีความตั้งใจที่จะผลิตผลงานที่มีคุณภาพในระดับนานาชาติ โดยความเชี่ยวชาญในการวิจัยเชิงปริมาณในกลุ่มธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์
References
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2562). โลจิสติกส์สร้างเทรนด์ใหม่. วารสารอุตสาหกรรมสาร.
การวิจัยแห่งชาติ. (2560). (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
จุฑารัตน์ ช่างทอง และ ปัญญา จันทโคต. (2562). การวิเคราะห์เนื้อหาวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 43-60.
ฉัตรวุฒิ อิ่มชมชื่น. (2563). การสังเคราะห์งานวิจัยระดับดุษฎีบัณฑิตสาขาทางการบริหารจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 153-166.
ดาเรศ บรรเทิงจิตร. (- มกราคม 2552). -. เข้าถึงได้จาก สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ.
ปฤชญีน นาครทรรพ. (2559). การวิเคราะห์บทความวิจัยของอาจารย์วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ปรากฎในฐานข้อมูล SCOPUS และ Web of Science. ว.วิจัยสมาคมห้องสมุดฯ, 23-44.
ปาริชาติ สถาปิตานนท์. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยกำรสื่อสำร. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬสลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
พราว อรุณรังสีเวช. (2563). การวิเคราะห์เนื้อหางานการศึกษาตลาดน้ำประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 92-107.
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. (2562). รายงานประจำปี วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน.
Gaur, A., & Kumar, M. (2018). A systematic approach to conducting review studies: An assessment of content analysis in 25 years of IB research. In Journal of World Business (Vol. 53, Issue 2, pp. 280–289). Elsevier Inc. https://doi.org/10.1016/j.jwb.2017.11.003
Liao, H., Tang, M., Luo, L., Li, C., Chiclana, F., & Zeng, X.-J. (2018). A Bibliometric Analysis and Visualization of Medical Big Data Research. Sustainability, 10(2), 166. https://doi.org/10.3390/su10010166
Merigó, J. M., & Yang, J. B. (2017). A bibliometric analysis of operations research and management science. Omega (United Kingdom), 73, 37–48. https://doi.org/10.1016/j.omega.2016.12.004
Moldavska, A., & Welo, T. (2017). The concept of sustainable manufacturing and its definitions: A content-analysis based literature review. In Journal of Cleaner Production (Vol. 166, pp. 744–755). Elsevier Ltd. https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2017.08.006
Muhuri, P. K., Shukla, A. K., & Abraham, A. (2019). Industry 4.0: A bibliometric analysis and detailed overview. Engineering Applications of Artificial Intelligence, 78, 218–235. https://doi.org/10.1016/j.engappai.2018.11.007
Santos, R., Costa, A. A., & Grilo, A. (2017). Bibliometric analysis and review of Building Information Modelling literature published between 2005 and 2015. In Automation in Construction (Vol. 80, pp. 118–136). Elsevier B.V. https://doi.org/10.1016/j.autcon.2017.03.005
Vaismoradi, M., Jones, J., Turunen, H., & Snelgrove, S. (2016). Theme development in qualitative content analysis and thematic analysis. Journal of Nursing Education and Practice, 6(5). https://doi.org/10.5430/jnep.v6n5p100