การให้นมแม่ผิด: กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด

ผู้แต่ง

  • จิตรลดา เพ็งลาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วาสนา ฬาวิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2021.30

คำสำคัญ:

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, ทารกป่วย, การให้นมแม่ผิดคน

บทคัดย่อ

      การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นั้นเป็นประโยชน์ต่อทารกเนื่องจากมีสารอาหารหลายชนิด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดในการให้นมแม่ผิดในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด โดยใช้แบบประเมินและเฝ้าติดตามอาการผู้ป่วยเด็กที่เริ่มมีอาการทรุดลงของทารกระหว่างได้รับนมแม่ผิด ขณะอยู่ในหอผู้ป่วยจนถึงจำหน่าย และติดตามผลการรักษาต่อในทะเบียนการรักษาต่อของผู้ป่วยไม่พบความผิดปกติใด ๆ การให้นมแม่ผิดนั้นคล้ายคลึงกับการได้รับเลือดที่ผิด ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญในต่างประเทศและประเทศไทย แต่ในประเทศไทยไม่มีรายงาน

      กรณีศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มความตระหนักถึงปัญหาการให้นมแม่ผิดคน ในกลุ่มบุคลากรพยาบาล และหาวิธีการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยต่อไป

References

Ahmed, A. N. (2011). Is it safe for a mother infected with hepatitis B virus to breastfeed her baby?.Bangladesh J Child Health, 35(1), 20-25.

Antonakou, A. (2018). The epigenetic effects of breast milk and the association of its nutritional content with maternal diet. Implications for midwifery practice. Eur J Midwifery, 2(13), 1-3.

Ashmika, M., & Rajesh, J. W. (2014). Importance of exclusive breast feeding and complementary feeding among infants. Current research in nutrition and food science, 2(2), 56-72.

Charles, W. S., & Krishelle, L. M. (2016). Parent misidentification leading to the breastfeeding of the wrong baby in a neonatal intensive care unit. Am J Case Rep, 17, 574-579.

Hfocus. (2017). การขับเคลื่อนนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของไทย. การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแกนนำวิทยากรระดับเขต พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562 จาก http://hp.anamai.moph.go.th/article_attach.

Paulina, B., & Veronica, V. (2017). Benefits of breastfeeding and risks associated with not breastfeeding. Chil Pediatr, 88(1),15-21.

Rimon, F. O., Friedman, Lev, S. E., Reicher, A. J., Amitay, M., Shinwell, E. S. (2004). Early enteral feeding and nosocomial sepsis in very low birthweight infants. Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed. 89, F289–292.

RPA Centre for newborn care clinical guidelines. Administration of Incorrect breast milk to a neonate 2015. Retrieved from https://www.slhd.nsw.gov.au/RPA/neonatal%Ccontent/pdf/Nursing%0Guidelines/ AdministrationIncorrectBreastmilk.pdf.

Sasikarn, K., & Rangsinan, K. (2016). Breastfeeding in postpartum mothers of sick newborns. Songklanagarind J Nurs. 36, 196-208.

Zhongjie, S., Yuebo, Y., Hao, W., Lin, M., Ann, S., Xiaomao, L., Wenjing, S., et al. (2011). Breastfeeding of newborns by mothers carrying hepatitis B virus - A meta-analysis and systematic review. Arch Pediatr Adolesc Med. 165(9), 837-846.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-27

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ