พัฒนาการตรวจหา DNA สุกรในวัตถุดิบสำหรับการผลิตแคปซูลเจลาตินฮาลาล ด้วยเทคนิค PCR

ผู้แต่ง

  • พจชนาถ พจชนาถ

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2019.16

คำสำคัญ:

เจลาติน, ฮาลาล, PCR

บทคัดย่อ

การระบุชนิดสัตว์ต้องห้าม เช่น เนื้อสุกรที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการตรวจสอบอาหารฮาลาล นอกจากนี้วัตถุที่เป็นส่วนผสม เช่น เจลาติน ซึ่งเป็นส่วนผสมที่ความสำคัญในอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ การผลิตแคปซูล ต้องระบุชนิดสัตว์ เพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนจากสัตว์ต้องห้าม ในงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีตรวจหาเนื้อสุกรผสมในวัตถุดิบสำหรับการผลิตแคปซูลเจลาตินฮาลาลด้วยเทคนิค Polymerase Chain Reaction (PCR)  เพื่อหา primer ที่มีความไว โดยเปรียบเทียบ primer ในส่วน repetitive element และ primer ในส่วน mitochondrial DNA ตรวจหา DNA สุกรที่ไม่ได้ผ่านความร้อนและผ่านความร้อน 121 องศาเซลเซียสนาน 15 นาที พบว่าในเนื้อที่ไม่ได้ผ่านความร้อนให้ผลไม่แตกต่างกัน แต่เนื้อที่ผ่านความร้อนสูง primer ในส่วน repetitive element ให้ความไวการตรวจสอบได้ดีกว่าการตรวจสอบโดยใช้ primer ในส่วน mitochondrial DNA สามารถตรวจสอบได้ในระดับปริมาณ DNA ที่ความเข้มข้นต่ำสุดคือ 0.05% และสามารถตรวจสอบการปนเปื้อน DNA สุกรใน เจลาติน ผง แต่ primer ส่วน mitochondrial DNA สามารถตรวจสอบได้ในระดับปริมาณ DNA ที่ความเข้มข้นต่ำสุด 0.2% และให้ผลลบเมื่อตรวจสอบการปนเปื้อนสุกรจากตัวอย่างเจลาตินผง

References

1. Ali, A., O.Irfan, I., Mehmet C. (2006). Effect of method of cooking on identification of heat processed beef using polymerase chain reaction (PCR) technique. Meat Sci., 72 326-330.

2. Calvo, J.H., Zaragoza, P.,and Osta, R. (2001). in processed food amplification of a new specific DNA fragment: J. Anim.Sci.2001. 79: 2108-2112.

3. Jerilyn ,A W., David, A H., Bridget A A., Jaiprakash S., Sudhir K S., and Mark, A B., (2003). Quantitative intra-short interspersed element PCR for species-specific DNA identification. Anal. Biochem. 316: 259-269.

4. Jerilyn ,A W., David, A H., Dale J H., Bridget A A., Anders M E., Jaiprakash S., Sudhir

5. K S. and Mark, A B. (2004). Quantitative PCR for DNA identification base on genome-specific interspersed repetitive element. Anal. Biochem. 83: 518-527.

6. King, N.L. and Kruth, L. (1982). Analysis of Raw beef samples for adulterant meat species by enzyme staining of isoelectric focusing gels. J Food Sci. 47(5): 1608-12.

7. Lahiff, S., Glennon, M., O’Brien, L., Lyng, J., Smith, T., Maher, M.andShilton, N. (2001). Species-specific PCR for the identification of ovine, porcine and chicken species in meta and bone meal (MBM).Mol Cell Probes.Feb; 15(1): 27-35.

8. Maharat, C., Intaraphad, U., and Jantarasamee, P., Development of pork DNA detection in meat product by PCR tecnique. Songklanakarin J. Sci. Technol., 2005, 27(5) : 993-1002

9. Matsunaga, T., Chikuni, K., Tanabe, R., Shibata, K., Yamada, T., Shinmura, Y. (1998). A quick and simple method for the identification of meat speciesand meat products by PCR assay: Meat Sci., 51: 43-148.

10. Montiel-Sosa, J.F., Ruiz-Pesini, E., Montoya, J., Roncaies, P., Lopez-Perez, M.J. and Perez-Martos, A. (2000). Direct and highly species-specific detection of pork meat and fat in meat products by PCR amplification of mitochondrial DNA. J Agric Food Chem. 48(7): 2829-32.

11. Saiki, R.K., Gelfand, D.H., Stoffel, S., Scharf, S.J., Higuchi, R., Horn, Muyllis, K.B. and Relish, H.A. (1988). Primer-directed enzymatic amplification of DNA with a thermostable DNA polymerase. Science. 239(4839): 487-91.

12. http://www.toronto.ca/health. Guide to Understanding Halal Foods is produced by Toronto Public Heaith, 2004.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-25

ฉบับ

บท

บทความวิจัย