ห้องเรียนกลับด้าน: การเรียนรู้แนวใหม่สำหรับศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • ฐานิตา ลิ่มวงศ์
  • ยุพาภรณ์ แสงฤทธิ์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2019.10

บทคัดย่อ

          ห้องเรียนกลับด้านการจัดการเรียนรู้แนวใหม่สำหรับศตวรรษที่ 21 ในยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) เทคโนโลยีสื่อสารเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตมนุษย์โลก รูปแบบการเรียนรู้สมัยใหม่ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้และนำเสนอบทเรียนของผู้เรียนจากการบรรยายหน้าชั้นเรียน เป็นการทบทวนเนื้อหาจากที่บ้าน ผ่านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาผ่านสื่อเทคโนโลยีที่ผู้สอนเตรียมไว้ให้ก่อนเข้าชั้นเรียน แล้วมาทำกิจกรรม และถามตอบปัญหาในชั้นเรียน ผู้สอนมีหน้าที่ออกแบบการสอน ช่วยเหลือแนะนำ (coaching) ประเมินผลการสอน ตอบสนองการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ สนใจใฝ่รู้ สร้างความรู้ ประยุกต์ความรู้ การลงมือปฎิบัติจริง และสร้างทักษะการเรียนรู้เพื่อการดำรงชีวิตสำหรับศตวรรษที่ 21

References

1. Jureerat Thomthong. (2014) ห้องเรียนกลับด้าน (The Flipped Classroom) สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561, จาก https://prezi.com/o1meklxbpyl2/the-flipped-classroom/

2. Jiraporn_pakorn. (2014). ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561, จาก http://www.vcharkarn.com/
varticle/60454

3. Flippedclass com. (2016). สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2561, จาก https://flippedclass.com/

4. Flipping the classroom. (2018). สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561. จากhttp://www.washington.edu/teaching/teaching-resources/engaging-
students-in-learning/flipping-the-classroom/

5. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ที่ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น จำกัด.

6.วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

7. วิจารณ์ พานิช. (2558). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. นครศรีธรรมราช : วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม–ธันวาคม 2558 หน้า 3-14.

8. ปิยะวดี พงษ์สวัสดิ์ และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). การออกแบบรูปแบบการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้กิจกรรม WebQuest เพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา.วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 6(1), 151-58.

9. สุดเฉลิม ศัสตราพฤกษ์. (2560). การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 แบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม Flipped Classroom in 21st Century Learningfor Development of Learning and Innovation Skills. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 28(1), 100-108.

10. อพัชชา ช้างขวัญยืน และทิพรัตน์ สิทธิวงศ์. (2559). การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12 : วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร 21 ก.ค.2559. น 1344-53.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-25

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ