การฉายรังสีมะเร็งสมอง และศีรษะและลำคอ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ผู้แต่ง

  • จำนงค์ คุ้มเขว้า สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
  • ณิชากร รักเกียรติ สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
  • วีรภัทร โวอ่อนศรี สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
  • วโรชา แสนกล้า สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

คำสำคัญ:

มะเร็งสมอง, มะเร็งศีรษะและลำคอ, เทคนิคการฉายรังสี, อุปกรณ์ยึดตรึงผู้ป่วย, การตรวจสอบตำแหน่งก่อนการฉายรังสี

บทคัดย่อ

การฉายรังสีบริเวณสมอง และศีรษะและลำคอ เป็นการฉายรังสีที่สามารถพบได้บ่อย เนื่องจากโรคมะเร็งสมอง และโรคมะเร็งศีรษะและลำคอ เป็นโรคที่มีอุบัติการณ์เกิดสูง และเป็นโรคมะเร็งที่ผู้ป่วยเข้ามารับการรักษาด้วยการฉายรังสีมากเป็นอันดับต้น ๆ เนื่องจากบริเวณศีรษะและลำคอ เป็นบริเวณที่มีอวัยวะสำคัญค่อนข้างมาก ปัจจุบันจึงมีการอาศัยการพัฒนาของเทคนิคการฉายรังสี เพื่อควบคุมปริมาณรังสีให้ครอบคลุมก้อนมะเร็ง โดยสามารถหลบเลี่ยงอวัยวะสำคัญข้างเคียงได้ในขณะเดียวกัน เพื่อให้การฉายรังสีมีความถูกต้องแม่นยำ การเลือกอุปกรณ์ยึดตรึงผู้ป่วยให้เหมาะสมและการตรวจสอบตำแหน่งก่อนการฉายรังสีจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก ปัจจุบันจึงมีวิวัฒนาการของอุปกรณ์ยึดตรึงที่ช่วยยึดตรึงผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีการใช้ระบบภาพนำวิถี (Image-guided radiotherapy) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของตำแหน่งก่อนการฉายรังสี

References

กระทรวงสาธารณสุข ก. สถิติสาธารณสุข 2565: กระทรวงสาธารณสุข; 2566.

สถิติการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง: สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย; [Available from: https://www.chulacancer.net/service-statistics.php.

มะเร็งหู คอ จมูก อื่นๆ: สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย; 2022 [updated 30 มกราคม 2022.

เลิศบุษยานุกูล ช. การฉายรังสีแบบปรับความเข้มในมะเร็งบริเวณศีรษะและลำคอ: สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; [Available from: https://www.chulacancer.net/articles-page.php?id=455&keysname=academic.

จักกาบาตร์ จ. Particle points and updates in management of brain metastases มะเร็งวิวัฒน์. 2018;24:51-8.

Cho B. Intensity-modulated radiation therapy: a review with a physics perspective. Radiat Oncol J. 2018;36:1-10.

Gupta T, Agarwal J, Jain S, Phurailatpam R, Kannan S, Ghosh-Laskar S, et al. Three-dimensional conformal radiotherapy (3D-CRT) versus intensity modulated radiation therapy (IMRT) in squamous cell carcinoma of the head and neck: A randomized controlled trial. Radiother Oncol. 2012;104:343-8.

Kazda T, Jancalek R, Pospisil P, Sevela O, Prochazka T, Vrzal M, et al. Why and how to spare the hippocampus during brain radiotherapy: the developing role of hippocampal avoidance in cranial radiotherapy. Radiat Oncol. 2014;9:139.

Wagner D, Christiansen H, Wolff H, Vorwerk H. Radiotherapy of malignant gliomas: Comparison of volumetric single arc technique (RapidArc), dynamic intensity-modulated technique and 3D conformal technique. Radiother Oncol. 2009;93:593-6.

Prendergast BM, Fiveash JB, Popple RA, Clark GM, Thomas EM, Minnich DJ, et al. Flattening filter-free linac improves treatment delivery efficiency in stereotactic body radiation therapy. J Appl Clin Med Phys. 2013;14:4126.

Pichandi A, Ganesh KM, Jerin A, Balaji K, Kilara G. Analysis of physical parameters and determination of inflection point for Flattening Filter Free beams in medical linear accelerator. Rep Pract Oncol Radiother. 2014;19:322-31.

Kondziolka D, Shin SM, Brunswick A, Kim I, Silverman JS. The biology of radiosurgery and its clinical applications for brain tumors. Neuro Oncol. 2015;17:29-44.

มหาวิทยาลัยมหิดล ความรู้ทั่วไปในการฉายรังสีร่วมพิกัด (Stereotactic radiation therapy) [Available from: https://www.rama.mahidol.ac.th/radiosurgery_center/th/km/14sep2021-1452.

การรักษาด้วยการฉายรังสีในผู้ป่วยโรคมะเร็ง [Available from: https://artforcancerbyireal.com/the1st_treatment/การรักษาด้วยการฉายรังสี

Celen YY, Dinç Ö, Arslan ND, Dağ S, Doğan AK, Günenç S. Hyperarc Vmat and Vmat planning for stereotactic radiosurgery in multiple brain metastases. J Radiat Res Appl Sci. 2023;16:100719.

ASTRO. Radiation Therapy for Head and Neck Cancers: rtanswer.org; 2021.

Brain Tumors: Radiation Therapy [Available from: https://www.hopkinsmedicine.org/health/conditions-and-diseases/brain-tumor/brain-tumors-radiation-therapy#:~:text=Radiation%20therapy%20uses%20strong%20beams,chemotherapy%20to%20treat%20brain%20tumors.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-04

How to Cite

1.
คุ้มเขว้า จ, รักเกียรติ ณ, โวอ่อนศรี ว, แสนกล้า ว. การฉายรังสีมะเร็งสมอง และศีรษะและลำคอ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. J Thai Assn of Radiat Oncol [อินเทอร์เน็ต]. 4 มีนาคม 2025 [อ้างถึง 2 เมษายน 2025];31(1):O22-O37. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jtaro/article/view/275022

ฉบับ

บท

บทฟื้นฟูทางวิชาการ