การบริหารจัดการความเสี่ยงและแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลนครพิงค์
คำสำคัญ:
การบริหารความเสี่ยง, แรงจูงใจบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการความเสี่ยงกับแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลนครพิงค์ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรด้านสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานโรงพยาบาลนครพิงค์ ประจำปีงบประมาณ 2564 คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ 196 คน เลือกโดยการสุ่มแบบเป็นระบบสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติอนุมาน หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ดังนั้นจากผลการวิจัยในครั้งนี้ผู้บริหารสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนนโยบายการส่งเสริมแรงจูงใจของบุคลากรในการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไป
References
Buakow S. Physical Environment Management And security effect to Motivation to work of personnel in Nong Bua Lamphu Hospital. Udonthani Hospital Medical Journal. 2018; 26(3): 176-184.
ขนิษฐา นิ่มแก้ว. ศึกษาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันของบุคลากรในองค์กร.[การศึกษาอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยขอนแก่นเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2554.
แรงจูงใจในการทำงาน.[ออนไลน์]: 2561[เข้าถึงเมื่อ 1 กันยายน 2561] เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki
Lekpratum A, Singhwee C. Working motivation, work-life balance and organizational commitment of professional nurses in a private hospital. Journal of Social Sciences and Humanities, 2020; 46(1), 174-217.
Hongveang S, Jumpamool A. Selected Factors Influencing Risk Management for Workplace Violence of Registered Nurses working at Regional Hospitals in the Northeast of Thailand. Srinagarind Med J 2019; 34(2): 190-197.
Burns N, Grove S. The practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence. 7th ed. St. Louis: W. B. Saunders; 2013.
อรุณ จิรวัฒน์กุล. ชีวสถิติสำหรับงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2551.
Cochran, W. G. Sampling Techniques. 3nd Ed., New York: John Wiley and Sons, Inc. 1977.
Streiner DL, Norman GR. Health Measurement Scales: A practical guide to their development and use. 2nd. The United States: Oxford Unitversity Press; 1995.
Hertzberg F, Mausner B, Snyderman BB. The Motivation to work. New York: Transaction Publishers; 2010.
Likert R. The human organization: Its management and value. New York: McGraw-Hill; 1967.
Elifson KW, Runyon RP, Haber A. Fundamentals of Socials Statistics. 2nd ed. New York: McGraw – Hill, Inc.; 1990.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลนครพิงค์ จ.เชียงใหม่
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องบทความในวารสารวิชาการและวิจัยเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลนครพิงค์ และบุคลากรท่านอื่นๆในโรงพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเองแต่ละท่าน