การพัฒนารูปแบบโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7

ผู้แต่ง

  • บังอร กล่ำสุวรรณ์ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
  • ชนิดาภา วงษ์รักษา กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
  • วิชชา สังข์ทอง กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
  • สุภาภรณ์ ศรีสุพรรณ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
  • ปาริชาต ภามนตรี กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น

คำสำคัญ:

โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, เด็กวัยเรียน

บทคัดย่อ

พบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนก่อนดำเนินการภาพรวมอยู่ในระดับต้องปรับปรุงร้อยละ 30.5 พอใช้ร้อยละ 39.5 ระดับดีร้อยละ 23.8 และดีมากร้อยละ 6.2 นักเรียนสูงดีสมส่วนร้อยละ 65.3 หลังดำเนินการพัฒนารูปแบบโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ พบว่า คะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( = 2.80, S.D.d = 14.27, 95% CI = 2.13-3.48, p-value < 0.001) และนักเรียนสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 67.3 จะเห็นได้ว่ารูปแบบการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพสามารถช่วยเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพและส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตดีขึ้น

 

 

References

สำนักสถิติแห่งชาติ. การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สำนักสถิติแห่งชาติ; 2561.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ฟื้นกิจกรรมทางกายในประเทศไทยหลังวิกฤตโควิด 19. นนทบุรี: บริษัทภาพพิมพ์ จำกัด; 2563.

สำนักโภชนาการ. แนวทางการควบคุมป้องกันภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2557.

นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. การนำความฉลาดทางสุขภาพไปปฏิบัติงานสาธารณสุข. วารสารวิจัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558; 8(2): 68-75.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. ผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ. นนทบุรี: กองสุขศึกษา; 2560.

สำนักทันตสาธารณสุข. รายงานผลโครงการพัฒนารูปแบบงานอนามัยโรงเรียนที่มีคุณภาพ. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข; 2561.

สำนักส่งเสริมสุขภาพ. การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน ปี 2562. นนทบุรี: สำนักส่งเสริมสุขภาพ; 2562.

อรุณ จิรวัฒน์กุล. ชีวสถิติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2542.

อังศินนัท์ อินทรกำแหง. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 15 มกราคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://bsris.swu.ac.th

พิสิษฐ์ ละหมิด, อัญชลี พงศ์เกษตร, ขจรศักดิ์ ไชยนาพงศ์, กมลวรรณ วณิชชานนท์. ความฉลาดทางสุขภาพและอิทธิพลของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคอ้วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลในเขตเทศบาลยะลา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2564; 7(1): 35-46.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31