ปริมาณและชนิดของเชื้อแบคทีเรียในอากาศจากกิจกรรมการให้บริการหลักในคลินิกทันตกรรม กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมชน
คำสำคัญ:
เชื้อแบคทีเรียในอากาศ, คลินิกทันตกรรม, โรงพยาบาลชุมชนบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณและชนิดของเชื้อแบคทีเรียในอากาศในคลินิกทันตกรรมโรงพยาบาลชุมชน โดยทำการศึกษาในช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม 2559 จากกิจกรรมการให้บริการหลัก 3 จุดคือ จุดให้บริการอุดฟัน ขูดหินปูน ถอนฟันและห้องตรวจผู้ป่วยเบาหวาน (control) เก็บตัวอย่างอากาศแบบเจาะจง จำนวน 120 ตัวอย่างด้วยเครื่องมือเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์ในอากาศ Biostage single-impactorที่บรรจุ Petri dish อาหารเลี้ยงเชื้อสูตร Nutrient agar (NA) สำหรับเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยปริมาณของเชื้อแบคทีเรียรวมมีค่า 846.02 CFU/m3(±44.55) (95% CI =757.80–934.23) โดยปริมาณเชื้อแบคทีเรียในวันพุธช่วงเช้า ของสัปดาห์ที่ 1 เดือนพฤศจิกายนในจุดให้บริการอุดฟันพบมากที่สุดมีค่า 2,734.98CFU/m3 และพบทั้งหมด 7 ชนิด ได้แก่ Pseudomonas Escherichia coli โดยเชื้อแบคทีเรียในอากาศที่พบมากที่สุดคือเชื้อ Bacillus spp. ร้อยละ 24 ของเชื้อทั้งหมดที่พบ ปริมาณของเชื้อแบคทีเรียในอากาศรวมมีค่าเฉลี่ยเกินค่ามาตรฐาน
IAQ/WHO (500 CFU/m3) ในระหว่างการให้บริการทันตกรรมควรมีการจัดการและหาอุปกรณ์ระบายอากาศที่เหมาะสมเพื่อช่วยลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในอากาศ
References
2. ศิริพร ศรีเทวิณ, กาญจนา นาถะพินธุ. การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในบรรยากาศในโรงพยาบาลขนาดที่แตกต่างกัน : Ambient microbial contamination in different hospital scales. วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา 2555; 12(1):92-101.
3. อะเคื้อ อุณหเลขกะ. การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ : เจ.ซี.ซี การพิมพ์, 2541.
4. พิชญา สุทินฤกษ์, สุปิยะนันท์ เขียนนอก, สุพัตรา ดำประภา. การเปรียบเทียบปริมาณเชื้อแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในอากาศก่อนและหลังการเปิดเครื่องฟอกอากาศที่ใช้ในคลินิกทันตกรรม คณะทันต-แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น :
ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2544.
5. Gowtham S. & Padma, ED. Bioaerosol contamination in dental clinic: A potential healthhazard Annals & Essence of Dentistry. 2014;6(1), 33.
6. Pasquarella C, Veronesi L, Napoli C, Castiglia P,Liguori G, Rizzetto R. Microbial environmental
contamination in Italian dental clinics: A multicenter study yielding recommendations for
standardized sampling methods and thresholdvalues. Sci Total Environ. 2012;420, 289–99.
7. Kimmerle H, Wiedmann-Al-Ahmad M, Pelz K,Wittmer A, Hellwig E, Al-Ahmad A. Airborne microbes in different dental environments in comparisontoapublicarea.ArchOralBiol. 2012;57(6), 689–96.
8. Kadaifciler DG, Cotuk A. Microbialcontamination of dental unit waterlines and
effect on quality of indoor air. Environ Monit Assess. 2014; (6): 265-9.
9. กรรณิการ์ อินยาวิเลิศ, ศิริพร คำสะอาด, สมเกียรติ เหลืองไพรินทร์, อรณิช บัญญัติรัชต, อังคณา คลังทอง อาริยา รัตนทองคำ. การปนเปื้อนของแบคทีเรียในอากาศภายในคลินิกทันตกรรมรวมสองและคลินิกทันตกรรมพิเศษ โรงพยาบาลทันตกรรม
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น(Bacterial air contamination inside thecomprehensive dentistry clinic II and special caredentistry clinic at the dental hospital, Faculty ofdentistry, Khon Kaen University). ขอนแก่น :ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและกระดูกขากรรไกรคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2557.
10. เด่นชัย กวยทอง กาญจนา นาถะพินธุ. จุลินทรีย์ในอากาศภายในห้องทันตกรรมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2558.
11. World Health Organization. Report on a WHOMeeting Indoor Air Quality: Biological Contaminants. [ออนไลน์].[เข้าถึงเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2561] เข้าถึงได้จาก https://www.euro.who.int/__data/ assets/pdf_fle/0005/156146/WA754ES.pdf
12. พรพรรณ สกุลคู. การเก็บตัวอย่างอากาศและการวิเคราะห์ด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2558.
13. ศรัญญู คำภาบุตร. ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการระบายอากาศและปริมาณจุลินทรีย์ในอากาศภายในโรงพยาบาล [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: 2552.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ความรับผิดชอบ
บทความที่ลงพิมพ์ในวารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ถือเป็นผลงานทางวิชาการหรือวิจัย และวิเคราะห์ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของวารสารสำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น หรือ ของกองบรรณาธิการแต่ประการใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ลิขสิทธ์บทความ
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะถือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานป้องกันตวบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น