การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยแบบประเมิน Thai CV risk score ในบุคลากรสาธารณสุขอําเภอเมืองตาก

Main Article Content

รุ่งนภา ศิริพรไพบูลย์
ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของ บุคลากรสาธารณสุขอําเภอเมืองตากและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการเกิดโรคโดยใช้แบบ ประเมิน Thai CV Risk Score เก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชทะเบียนของผู้มาใช้บริการตรวจสุขภาพย้อนหลังในปี 2559 จํานวน 1,009 คน วิเคราะห์โดยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณนาอธิบายลักษณะส่วนบุคคล และคะแนนความเสี่ยงต่อการเกิดโรคโดยการหาจํานวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ําสุด, ค่าสูงสุด และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงด้วยสถิติเชิงอนุมาณอัตราส่วนออดส์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดอยู่ในระดับต่ําร้อยละ 94.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการ เกิดโรคเรียงตาม โอกาสเสี่ยงมากไปน้อยดังนี้ อายุ 35-49 ปีมีความเสี่ยง 109.5 เท่า, ความดันโลหิตตัวบนแปรผัน ตรงกับโอกาสเกิดโรคโดยมากกว่า 160, 140-159, 120-139 มิลลิเมตรปรอทมีความเสี่ยง 62.6, 17.3, 4.9 เท่า ตามลําดับ โรคเบาหวานมีความเสี่ยง 12.2 เท่า, ภาวะอ้วนลงพุงมีความเสี่ยง 44 เท่า, ผู้สูบบุหรี่และเลิกสูบบุหรีไม่ เกิน 1 ปี มีความเสี่ยง 4.3 เท่า, เพศชายมีความเสี่ยง 2.5 เท่า, ระดับคอเลสเตอรอลแปรผันตรงกับโอกาสเกิดโรคโดย 250-299,200-249 มก./ดล.มี ความเสี่ยง 2.0 และ 1.3 เท่าตามลําดับ ผลการวิจัยครั้งนี้จะใช้สร้างมาตรการเชิงรุกใน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงทั้งหมดไปพร้อมกันแบบเบ็ดเสร็จ ในกลุ่มเสี่ยงปาน กลางขึ้นไปต้องสร้างแรงจูงใจใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเทคนิค 5A5R ในกลุ่มป่วยมีระบบดูแลติดตาการ รักษาตามกําหนดโดยมีช่องทางพิเศษ มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนในการติดตามอย่างใกล้ชิด การให้ low dose aspirin ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยง มากกว่าร้อยละ 10 และเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกน้อย และขยายผลศึกษาเพิ่มใน กลุ่มประชากรทั่วไป เพื่อสร้างระบบ Long term care ดูแลตั้งแต่เริ่มต้นโดยใช้ผังเครือญาติให้คําปรึกษาคู่แต่งงานที่ ต้องการมีบุตรเพื่อรับทราบปัญหา สุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเพื่อการดูแลครรภ์และเลี้ยงดูบุตรได้อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
บทความวิชาการทั่วไป

References

1. American heart association. What is cardiovascular discase?. [Intemet]. 2017(cited 2017 Feb 25]. Avaliable from: URL:http://www.hcart.on:/HEARTORGIC arcgiverdBesoutees/WhatisCardiovascuarDiscase/What-is-CardiovascularDiscase L'CM 301852 Articlc.ispti. MIHB71Shlhu

2.กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักโรคไม่ติดต่อ รายงานประจำปี 2559 .สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคระสำนักงานกิจการ โรงพิมพ์องค์การสงคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์:2559
3. ศรัญย์ควรประเสริฐ, อภิชาต สุคนธสรรพ์.Cardiovascular guidelines focus. พิมพ์ครั้งที่1. เชียงใหม่: ทริค ฮังค์:2556.

4. Boffetta P Straif K. Usc of smokclesstobacco and risk of myocardial infarctionand stroke systematic review with meta-anlysis. BMJ 2009:339:3060-6.

5. มนัท ครุธกูล. รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์โครงการทบทวนองค์ความรู้ภาวะไขมันในเลือดสูง สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข[Intemet]. 2017 [cited 2017 Fcb 27].Avaliable from:URL-http://haincd.com/201o/mission/activity.pho7tid-31.15&gd1-015&scarchTeut-Spn-44

6. MacMahon S, Peto R, Cutler J. Blood pressure, Stroke and coronary heart diseasepart I prolonged differences in blood pressure propective observational studies

corrected for the regression dilution bias.Lancet 1990:335:765-74.

7. UK Prospective Diabetes Study group.Tight blood pressure control risk of macrovascular and microvascular complications in type 2 diabetes. Br Med J 1998;17:703-13.

8. Expert Panel on Detection, Evaluation, and Treatment of High Blood Cholesterol in Adults. Executive Summary of the Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP). JAMA 2001;285:2486-97.

9. The fifth Joint Task Force on the European Society Cardiology and Other Societities on Cardiovascular Disease Prevention in Clinical Particle. The European Guidelines on Cardiovacular Disease Prevention in Clinical Practic. European Heart Journal 2012; 33: 1635-1701.

10. The Task Force for the Management of Arterial Hypertension of the European Society of Hypertension (ESH) and of the
European Society of Cardiology (ESC). Guidelines for The Management of Arterial Hypertension. J Hyperten 2007; 25: 1105-87.

สุกิจ แย้มวงค์. โครงการพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด.[Internet] 2016[cited 2016 Oct 28] Available from: URL:http://www
thainhf.ore:/document/rescarch/research 19L.pdf

11. Pattanapom Supina, Kitiphong Hamcharocn, Sukhontha Siri, Adisak Manccsia. Rama-EGAT Heart Score Validity Among Acutc Coronary
Syndromes Patcints in Siriraj Hospital. JNurs Sci 2009:27:77-82.

12. ปริญญ์ วาทีสารกกิจ. Thai CV risk score on bchalf of the Thai CV risk score development group. [Internet] 2017[cited2017 Feb 28]. Avaliable from: URL:htte://haincd.comdocumcntifle/downleadpowerpoint/THAICV~I.PDF

13. ณัฐธิวรรณ พันธ์มุง, นิตยา พันธุเวทย์, ลินดา จำปาแก้ว. แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (Guideline for Assessment of Cardiovascular Risk). พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก : 2558

14. สยมพร ศิรินาวิน, กรกฏ จุฑาสมิต, อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ. แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็น และเหมาะสมสำหรับประชาชน.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรง พิมพ์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก : 2559

15. รุ่งโรจน์ พิทยศิริ, ธีรธร พูลเกษ, กนกวรรณ บุญญพิสิฏฐ์, สมบัติ มุ่งทวีพงษา. ตำราประสาทวิทยาคลินิก textbook of clinical
neurology. พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพมหานคร :สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย:2559

16. Ketchada Punset. Sukanda Klinthuesin.Apasinee Kingkaew, Wiyada Wongmaneeroj. Cardiovascular Risk among Staffs Working at The Cental of Ministry of Pubic Health Using Riskm Assessment of Rama-EGAT Heart Score.
Nursing Jounal of the Minitrys of PubicHealth 2013:25:57-70

17. สิทธิกร ลินลาวรรณ. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของภาวะอ้วนลงพุงในบุคลากรโรงพยาบาล พระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี.
[Internet] 2017[cited 2017 April 16].Avaliable from: URL:http://www.phrachomklao.go.th

18. Lin YC, Hsiao TJ.Persistent rotating shift-work exposure accelerates sevelopment of metabolic syndrome among middle-aged female employees: a five-year follow-up. Chronobiol int 2009:26:740-55.

19. Rareung Ridtidat, Nantarat Komanasin,Paisal Mongkolwonggroj. Assessment of cardiovascular disease risk by the Rama-EGAT heart score in staff of Songkhla hospital. Journal of medical technology and physical therapy 2015;27:15-27

20. ชุษฌา สวนกระต่าย, นภชาญ เอื้อประเสริฐ,กำพล สุวรรณพิมลกุล, กมลวรรณ จุติวรกุล.ตำราอายุรศาสตร์เล่มเ.พิมพ์ครั้งที่ 1เ.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : 2558.

21. Baigent C, Keech A, Kearney PM. Eficacy and safty of cholesterol-lowering treatment: Prospective meta-analysis of data from
90,056 participants in 14 randomized trialsof statins. Lancet 2005;366:1267-78.

22. Collins R, Peto R, MacMahon S. Blood pressure, Stroke and coronary heart disease part 2 : short term reductions in blood pressure :overview of randomized drug trial in thial in their epidemiological context. Lancet 1990:335:827-38.

23. Blood pressure lowering treatment trialists's collaboration. Blood pressure dependent and independent effects of agents that inhibit the reninagiotensin system. J Hypertens 2007:25:951-8.

24. สมาคมความค้นโลหิตสูงแห่งประเทศไทย.แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2558. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร; 2558

25. The ADVANCE Collaborative Group.Intensive blood glucose control and vascular outcomes in pateints with type2 diabetes. N Engl J Med 2008:358:2560-72.

26. Gaede P, Lund-Anderseo H, Parving HH,Pedersen O. Effect of a multifactorial intervention on mortality in type 2 diabetes. New Engl J Med 2008;385:580-91.

27. Gerstein HC, Miller ME, Byington RP. Effect of intensive glucose lowering in type2 diabetes. N Engl J Med 2008:358:2545-59.

28. American Diabetes Association. Standards for Medical care in Diabetes 2013. Diabetes Care 2013:36:11-66.

29. Haslam DW, James WP. Obesity. Lancet 2005:366:1197-209.

28. American Diabetes Association. Standards for Medical care in Diabetes 2013. Diabetes
Care 2013:36:11-66.

29. Haslam DW, James WP. Obesity. Lancet 2005:366:1197-209.

30. สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, แนวโน้มปัจจัยเสี่ยงและ พฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ รายงานประจำปี 2559. [Intemet] 2017[cited 2017
March 25]. Avaliable from: URL:http://thaincd.com/document/file/info/brfss/ผลการติดตามปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยง BRFSS.pdf

31. Baigent C, Blackwell L, Emberson J.Efficacy and safety of mor intensive lowering of LDL cholesterol: a meta-analysis of data from 170,000 participants
in 26 randomised trial. Lancet2010:376:1670-81