การเปรียบเทียบระดับความเครียดของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาหมู่บ้านดอยกวิ่ ตาบลนางแล อา เภอเมือง จังหวัดเชียงราย

Main Article Content

Manuchet Manotham

บทคัดย่อ

ความเครียดของผู้สูงอายุเป็นสิ่งสาคัญที่ส่งผลต่อสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ มีความเกี่ยวข้องกับศักยภาพของชีวิตมนุษย์ทุกคน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความเครียดของผู้สูงอายุและความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเครียดของผู้สูงอายุ เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางทา การศึกษาที่หมู่บ้านดอยกิ่ว ตา บลนางแล อา เภอเมือง จังหวัดเชียงราย ประชากรที่ใช้เพื่อการศึกษา คือผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป จา นวน 50 คน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน พ.ศ.2560 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคือ ความถี่ ร้อยละ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเครียดของผู้สูงอายุ โดยใช้สถิติ Pearson Chi-Squareผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 66.0) มีอายุ 60-69 ปี (ร้อยละ 64.0) สถานภาพสมรส (ร้อยละ 60.0) มีการศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 78.0) ไม่มีอาชีพ (ร้อยละ 54.0) มีรายได้ไม่พอเพียง (ร้อยละ 86.0) และมีโรคประจา ตัว (ร้อยละ 82.4) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58.0) มีความเครียดอยู่ในระดับสูง และนา มาหาความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยด้านอาชีพส่งผลให้ระดับความเครียดแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 การวิจัยครั้งนี้สามารถนา ผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางให้หน่วยงาน
ทางด้านสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนา ไปจัดทา โครงการสร้างเสริมสุขภาพต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการทั่วไป

References

1. World Health Organization (WHO). Who definition of health [Internet]. 2012 [cited 2018 March 8]; Available from: http://www.who.int/about/definition/en/print.html.

2. อภิชัย มงคล, ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ, ทวี ตั้งเส,รี วัชนี หัตถพนม, ไพรวัลย์ ร่มซ้าย และวรวรรณ จุฑา. การพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย (2007). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จา กัด; 2552.

3. Bailey B. Dominican American ethnic/racialidentities and United States social categories, Int. Migrat. Rev. 2001;35:677-708.

4. Drew W. Psychology-Mind, Brain and Culture, John Wiley & Sons, Inc., New York;1995.

5. United Nation. [Internet]. 2002 [cited 2018 March 8]; Available from:http://www.un.org/esa/population/publications/wpp2002/WPP2002-HIGHLIGHTSrev1.PDF.

6. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ:มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.); 2557.

7. George L.K. Still happy after all these years:Research frontiers on subjective well-being in later life. J. Gerontol. Soc. Sci. 2010;65:229-331.

8. Pinquart M and Sorensen S. Gender differences in self-concept and psychological well-being in old age. J. Gerontol. Psychol. Sci. 2001;56:195-213.

9. Gray R.S, Rukumnuaykit P, Kittisuksathit S and Thongtha V. Inner happiness among Thai elderly. J. Cross Cult. Gerontol. 2008;23:211-224.

10. Pinquart M and Sorensen S. Influences of socioeconomic status, social network, and competence on subjective well-being in later life: A meta-analysis, Psychol. Aging. 2000;15:187-224.

11. วิพรรณ ประจวบเหมาะ. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ: พงษ์พาณิชย์เจริญผล;2555: 8-24.

12. นิติกร ภู่สุวรรณ และอภิรดี วังคะฮาต.ความเครียดและปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร.Proceeding of The 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand, 2013.

13. นิติกร ภู่สุวรรณ. ความเครียดของผู้สูงอายุในเขตตา บลแห่งหนึ่ง จังหวัดสกลนคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. การประชุมวิชาการ มหาสารคามวิจัยครั้งที่ 10. 2557: 164-171.

14. อมาวสี อัมพันศิริรัตน์. ความสามารถในการดูแลตนเองกับภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุเขตชนบท อา เภอพล จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต การพยาบาลชุมชน.ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2539.

15. ผลวิจัยเผย ผู้สูงอายุ 70% ยังชีพด้วยการทำงาน คาดอนาคตการจ้างงานผู้สูงอายุเพิ่ม.ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2561,จากhttps://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1265889660