บทบาทพยาบาลในการประยุกต์ใช้หลักการจัดการความโกรธ สำหรับผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน

ผู้แต่ง

  • ดรุณี คชพรหม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี
  • ธีรนุช ยินดีสุข สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • นันทรียา โลหะไพบูลย์กุล สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • เยาวณี จรูญศักดิ์ สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • ศิริรัตน์ โกศัลวัฒน์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

บทบาทพยาบาลในชุมชน, การจัดการความโกรธ, ผู้ป่วยจิตเวช

บทคัดย่อ

โรคทางจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่สำคัญ แม้ผู้ป่วยจิตเวชจะได้รับการดูแลรักษาจากโรงพยาบาลเรียบร้อยแล้ว แต่ภายหลังผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับอนุญาตให้กลับไปรักษาต่อเนื่องในชุมชน ยังมีรายงานผู้ป่วยจิตเวชกลับเข้ารักษาซ้ำในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง ความโกรธเป็นอาการหนึ่งที่มักพบบ่อยในผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งจะแสดงออกทางพฤติกรรมก้าวร้าว หรือพฤติกรรมรุนแรง ทำให้ผู้ป่วยจิตเวชไม่สามารถอยู่ในครอบครัวและชุมชนได้ ดังนั้นพยาบาลในชุมชนจึงมีบทบาทสำคัญการดูแลและเชื่อมโยงการดูแลอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยจิตเวชภายหลังจากจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล บทความนี้ได้นำเสนอแนวคิดการจัดการความโกรธของโนวาโค (Novaco)  และบทบาทพยาบาลในชุมชนด้วยการประยุกต์แนวคิดดังกล่าว  เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งการดูแลผู้ป่วยจิตเวชสำหรับพยาบาลในชุมชน ร่วมกับส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเวชลดความโกรธ พร้อมสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้ ซึ่งอาจช่วยลดการกลับเข้ามารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลต่อไป 

References

Farahani M, Zare SE. Effectiveness of cognitive-behavioral anger management training on aggression and job satisfaction on nurses working in psychiatric hospital. Zahedan Journal of Research in Medical Sciences 2018;2: e.55348. doi: 10.5812/zjrms.55348.

American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorder. 4th ed. Text revision. Washington DC: American Psychiatric Association; 2000.

Martha LC. Understanding and treating violence psychiatric patients. Washington DC: American Psychiatric; 2000.

พยุงศักดิ์ ฝางแก้ว, เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์. ผลของการจัดการความโกรธที่เน้นการปรับความคิดต่อ พฤติกรรมก้าวร้าวของผู้ป่วยจิตเภท.วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 2562;33:53-69.

กรมสุขภาพจิต. รายงานผู้ป่วยมารับบริการด้านจิตเวช [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.dmh.go.th/report/datacenter/dmh/

Single Care Administrators. Mental health statistics [Internet]. 2021 [cited 2021 May 15]. Available from: https://www.single care.com/blog/news/mental-health-staristics/

พิชญนันท์ นามวงษ์, วิญญู ชะนะกุล. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำภายใน 28 วัน ในผู้ป่วยโรคจิตเภทของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2561;12:1-11.

ยาใจ สิทธิมงคล, พวงเพชร เกสรสมุทร, นพพร ว่องสิริมาศ, อทิตยา พรชัยเกตุ โยว ยอง. การพยาบาลจิตเวชศาสตร์ Psychiatric Nursing. กรุงเทพฯ: สแกนอาร์ต; 2561

วิจิตร ศรีสุพรรณ, กาญจนา จันทร์ไทย. คู่มือปฏิบัติงานพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: จุดทอง; 2556.

อติญาณ์ ศรเกษตริน, อรวรรณ สัมภวะมานะ, กาญจนา สุวรรณรัตน์. การปฏิบัติตาม บทบาทของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการปฐมภูมิ. วารสารกองการพยาบาล 2553:37; 52-63.

สิรานีย์ ประเสริฐยศ, วันดี สุทธรังษี, ถนอมศรี อินทนนท์. ความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพในการปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2558;35:101-17.

บุญวดี เพชรรัตน์, พิเชษฐ์ สุวรรณจินดา, วันดี สุทธรังสี. ปัจจัยทำนายความสามารถทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. สงขลานครินทร์เวชสาร 2550;25:481-9.

ชัยวัฒน์ อินไชยา, ชิณกรณ์ แดนกาไสย, เบญจยามาศ พิลายนต์. ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิตกับการรับรู้ความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครพนม. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2562;39:73-84.

Novaco RW. Anger control: The development and evaluation of an experimental treatment. Lexington‚ MA: D.C. Health; 1975.

วรรณวิภา ชำนาญ, เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล, สมบัติ สกุลพรรณ์. ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับความโกรธสำหรับผู้ป่วยจิตเภท: กรณีศึกษาโรงพยาบาลอุตรดิตถ์. พยาบาลสาร 2560;44:125-33.

อำพัน จารุทัสนางกูร, โสรยา ศุภโรจนี. ผลของโปรแกรมควบคุมความโกรธต่อการแสดงความโกรธของผู้ป่วยจิตเภทสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2558;9:24-35.

McGill University General Information. MOODJUICE - Anger Problems - Self-help Guide [Internet]. [cited 2021 May 15]. Available from: https://www.mcgill.ca/counselling/files/counselling/anger_moodjuice_self-help_guide.pdf

สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช. กรุงเทพฯ: วิคทอเรียอิมเมจ; 2560.

ทศา ชัยวรรณวรรต. พยาบาลกับการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 2562;33:1-12.

Mental Health America of Northern Kentucky & Southwest Ohio. Novaco Anger Scale [Internet]. 2013 [cited 2021 Nov 5]. Available from: https://www.mhankyswoh.org/Uploads/files/pdfs/Anger-NovacoAngerScale_20130812.pdf

กัญญาวรรณ ระเบียบ, อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, รัตน์ศิริ ทาโต. ผลของโปรแกรมการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อร่วมกับการควบคุมความโกรธต่อพฤติกรรมก้าวร้าวในผู้ป่วยจิตเภท 2556;27: 69-84.

Caporuscio J. 5 Relaxation Techniques to Try. Medical News Today [Internet]. 2020 [cited 2021 May 20]. Available from: https://www.medicalnewstoday.com/articles/5-relaxation-techniques-to-try

Reilly PM, Shopshire MS. Anger Management for Substance Use Disorder and Mental Health Clients [Internet]. 2019 [cited 2021 jun 10]. Available from: https://store.samhsa.gov/sites/default/files/d7/priv/anger_management_manual_508_compliant.pdf

Stuart WG. Principles and Practice of Psychiatric Nursing. 10th ed. London: Elsevier Health Sciences; 2014.

Pew Research Center. Internet/Broadband Fact Sheet [Internet]. 2021 [cited 2021 June 17]. Available from: https://www.pewresearch.org/internet/fact-sheet/internet-broadband/.

Halter MJ. Varcarolis, Foundations of Psychiatric Mental Health Nursing: a Clinical Approach. 7th ed. Elsevier Saunders St. Louis: Missouri; 2014.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-22