บทบาทพยาบาลในปัจจุบันต่อการสนับสนุนทางสังคมในวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย
คำสำคัญ:
การสนับสนุนทางสังคม, เด็กวัยรุ่น, โรคธาลัสซีเมียบทคัดย่อ
การสนับสนุนทางสังคม มีความสำคัญแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย ที่ต้องเผชิญปัญหาทั้งด้านร่างกายและจิตสังคมที่เกิดจากการดำเนินการของโรค และการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ทำให้อาจเกิดปัญหาด้านการปรับตัว จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากแหล่งอื่นในสังคม เพื่อให้เกิดความรู้สึกถึง ความปลอดภัย มั่นคง การยอมรับและมีคุณค่าในตนเอง โดยมีการสนับสนุนครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านอารมณ์ ด้านการประเมินค่า ด้านข้อมูลข่าวสาร และด้านทรัพยากร เพื่อช่วยให้วัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียสามารถเผชิญสถานการณ์และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมและบทบาทพยาบาลในการสนับสนุนทางสังคม เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการดูแลวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียต่อไป
References
Williams TN, Weatherall DJ. World distribution, population genetics, and health burden of the hemoglobinopathies. Cold Spring Harbor perspectives in medicine 2012;2:1-14. doi: 10.1101/cshperspect.a011692
Chaibunruang A, Sornkayasit K, Chewasateanchai M, Sanugul P, Fucharoen G, Fucharoen S. Prevalence of thalassemia among newborns: a re-visited after 20 years of a prevention and control program in northeast Thailand. Mediterr J Hematol Infect Dis 2018;10:1-6.
สุพรรณ ฟู่เจริญ. ภาวะโลหิตจางธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติ ในภาคอีสาน ลาว และเวียตนาม. การประชุมวิชาการประจำปี Moving towards the center of excellence in ASEAN; 11-18 ตุลาคม 2556; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น; 2556. หน้า 153-7.
นฤมล ธีระรังสิกุล, ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์. ประสบการณ์การจัดการดูแลตนเองของเด็กป่วยโรคธาลัส ซีเมีย. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2558;23:48-60
Kucine N, Giardina PA. Thalassemia. Biomedical Research 2014;3:1-8.
จิรกานต์ พันธ์ฤทธิ์ดำ, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2561;36:57-72.
Jain M, Bagul AS, Porwal A. Psychosocial problems in thalassemic adolescents and young adults. Chronicles of Young Scientists 2013;4:21-3.
Behdani F, Badiee Z, Hebrani P, Moharreri F, Badiee AH, Hajivosugh N, et al. Psychological aspects in children and adolescents with major thalassemia: A case-control study. Iran J Pediatr 2015;25:1-8.
House JS. Work stress and social support. New Jersey: Prentice Hall; 1981.
วสันต์ ศรีแดน. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และการจัดการตนเองในเด็กวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2560.
Abbasi S, Shahriari M, Ghanavat M, Talakoub S, Asl FSM, Hemati Z. The relation between different aspects of quality of life with coping style in adolescents with thalassemia in comparison to a healthy group. Int J Hematol Oncol Stem Cell Res 2020;14:19-26.
เกศมณี มูลปานันท์. บทบาทของพยาบาลในการสนับสนุนการดูแลสุขภาพของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย. การพยาบาลและการศึกษา 2556;6:2-11.
Caplan G. Support systems and community mental health. New York: Behavioral Publication; 1974.
Cobb S. Social support as a moderator of life stress. Psychosomatic Medicine 1976;38:300-14.
Weiss R. The provisions of social relationships. In: Robin Z, editor. Doing unto others. New Jersey: Prentice Hall; 1974. p. 17-26.
Machado AN, Nóbrega VMD, Silva MEA, França DBL, Reichert APDS, Collet N. Chronic disease in children and adolescents: professional-family bond for the promotion of social support. Revista gaucha de enfermagem 2018;39:e2017-0290.
Roberts CA, Geryk LL, Sage AJ, Sleath BL, Tate DF, Carpenter DM. Adolescent, caregiver, and friend preferences for integrating s ocial support and communication features into an asthma self-management app. Journal of Asthma 2016;53:948-54.
ขนิษฐา หะยีมะแส. การศึกษาเปรียบเทียบการสนับสนุนทางสังคมในผู้ดูแลเด็กกลุ่มอาการออทิซึมและเด็กพัฒนาการสมวัยที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2556.
Shahraki-Vahed A, Firouzkouhi M, Abdollahimohammad A, Ghalgaie J. Lived experiences of Iranian parents of beta-thalassemia children. Journal of multidisciplinary healthcare 2017;10:243-51. doi: 10.2147/JMDH.S132848
Salehi S, Morovati S. Coping behaviors in families with children suffering from thalassemia major and evaluating the implementation effect of nursing intervention on these behaviors. International Journal of Medical Research & Health Sciences 2016;5:58-63.
Razzazan N, Ravanipour M, Gharibi T, Motamed N, Zarei A. Effect of self-management empowering model on the quality of life in adolescents and youths with major thalassemia. Journal of nursing education 2014;3:48-59.
วิภาวี พลแก้ว, ปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์, วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ, ณัฎฐวรรณ คำแสน. การสนับสนุนทางสังคมต่อครอบครัวเด็กป่วยโรคมะเร็งในยุคสารสนเทศ. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 2563;4:21-34.
รัตนชฎาวรรณ อยู่นาค, ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์. การประสบกับความยากลำบากในการฉีดยาขับเหล็กให้ครบตามแผนการรักษา : ประสบการณ์การใช้ยาฉีดขับธาตุเหล็กที่บ้านของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียชนิดพึ่งพาการให้เลือด. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ 2554;5:10-20.
กนกวรรณ ภัทรมัย, จุฑารัตน์ มีสุขโข, สุธิศา ล่ามช้าง. ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมและภาระในการดูแลของผู้ดูแลเด็กโรคธาลัสซีเมีย. พยาบาลสาร 2564;48:181-92.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในวิทยาลัยพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเอง