การประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการตนเองเพื่อส่งเสริมวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวีของผู้ติดเชื้อเอชไอวี / ผู้ป่วยเอดส์
คำสำคัญ:
การจัดการตนเอง, การรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวีบทคัดย่อ
การติดเชื้อเอชไอวีหรือการเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ถือเป็นการเจ็บป่วยวิกฤตที่ส่งผลกระทบที่ซับซ้อน และรุนแรงมากกว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน รวมทั้งเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีเป็นแนวทางที่ยอมรับและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในปัจจุบัน ควบคู่กับการดูแลตนเองที่เหมาะสม การประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการตนเองสามารถส่งเสริมวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวีของผู้ติดเชื้อเอชไอวี / ผู้ป่วยเอดส์ ทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์รับประทานยาต่อเนื่องสม่ำเสมอเพิ่มขึ้น
References
ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล. การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีแบบผู้ป่วยนอก Ambulatory Care of HIV-infected Patients. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี : บริษัท บียอนด์ เอนเทอร์ไพรซ์ จำกัด; 2557.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนงานวิจัยด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ. 2562 – 2564. กรุงเทพฯ; 2562.
วรรณ์นิภา แสนสุภา. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์และดัชนีชี้วัดสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.
Boucher LM, Liddy C, Mihan A, & Kendall C. Peer-led self-management interventions and adherence to antiretroviral therapy among people living with HIV: a systematic review. AIDS behavior 2020;5:998-1022.
รำไพ หาญมนต์, นงเยาว์ เกษตร์ภิบาลและจิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ. ผลของการส่งเสริมการจัดการตนเองต่อความมีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสและพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์. พยาบาลสาร 2556;40:40–9.
Wold Health Organization. Adherence to long-term therapies: evidence for action. Geneva. 2003.
Lawn SD, Kranzer K, & Wood R. Antiretroviral therapy for control of the HIV-associated tuberculosis epidemic in resource-limited settings. Clin Chest Med 2009;30:685-99.
Harrie K, Zachariah R, Manzi M, Firmenich P, Mathela R, Drabo J, & et al. Baseline characteristics, response to and outcome of antiretroviral therapy among patients with HIV-1, HIV-2 and dual infection in Burkina Faso. Trans R Soc Trop Med Hyg 2010;404: 154-61.
ชนิกา ศรีราช. พฤติกรรมการกินยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2559.
ดวงเนตร ธรรมกุล, ศิริพร ครุฑกาศ, อุษณีย์ เทพวรชัยและ เยาวรัตน์ อินทอง. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ของผู้ป่วยโรคเอดส์. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2553;4:1-11.
สุคนธา คงศิลและคณะ การเปรียบเทียบความต่อเนื่องสม่ำเสมอของการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า. วารสารวิจัยระบบสุขภาพสาธารณสุข 2554;5:485–94.
ศุภมาศ อุ่นสากล. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะล้มเหลวทางไวรัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่รักษาด้วยยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลอากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 2558; 3:47–58.
Cote J, Godin G, Ramirez-Garcia P,Rouleau G, Bourbonnais A, Gueheneuc Y, & et al. Virtual intervention to support self-management of antiretroviral therapy among people living with HIV. J Med Internet Res 2015;17:1-12. doi: 10.2196/jmir.3264
อัจฉรพรรณ ค้ายาดี. การพัฒนารูปแบบการจัดการตนเองอย่างมีส่วนร่วมต่อความสม่ำเสมอของการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2553.
อะรีฟาน หะยีอีแต. การสนับสนุนทางสังคมที่มีผลต่อการเกาะติดการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวีของผู้ป่วยจังหวัดนราธิวาส. วารสารโรคเอดส์ 2552;22: 11–21.
Sarna A, Luchters S, Geibel S, Chersich MF, Munyao P, Kaai S, & et al. Short- and long-term efficacy of modified directly observed antiretroviral treatment in Mombasa, Kenya: A randomized trial. J Acquir Immune Defic Syndr 2008;48:611–9.
อารี เสนีย์. โปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารพยาบาลทหารบก 2557;15:129-34.
Lorig KR, & Holman HR. Self-management education: history, definition, outcome, and mechanisms. Ann Behav Med 2003;6:1-7.
Kralik D, Koch T, Price K & Howard N. Chronic illness self- management: taking action to create order. J Clin Nurs 2002;13: 259-67.
Barlow J, Wright C, Sheasby J, Turner A, & Hainsworth J. Self- management approachers for people with chornic condition: Review. Patient Educ Couns 2002;48:177-87.
Kanfer FH. Helping people change: a textbook of methods. 2nd. New York : Pergamon Press; 1980.
Kanfer FH & Goldstein A. Self – management methods. In Heaping People Change: A Textbook of Methods. New York: Pergamon Press; 1991.
ฐาณิชฐาณ์ หาญณรงค์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2553.
สุชาดา เตื้องวิวัฒน์. การศึกษาและติดตามการใช้ยาของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในโรงพยาบาลมาบอำมฤติ. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11 2558;29:161–9.
องค์อร ประจันเขตต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ณ แผนกโรคติดเชื้อ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. เวชสารแพทย์ทหารบก 2555;65:95-102.
สุพัตรา คงปลอด, พูลสุข เจนพาณิชย์วิสุทธิพันธ์และอรสา พันธ์ภักดี. การรับรู้ความต้องการการดูแลตนเองและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเอดส์ที่ติดเชื้อฉวยโอกาส. วารสารพยาบาลรามา 2558;20:38–51.
ปัณม์ชรัก เฟื่องโพธิ์ทอง, นพรัตน์ ส่งเสริมและเผ่าไทย วงศ์เหลา. โปรแกรมการบริบาลเภสัชกรรมส่งเสริมความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ป่วยที่ไม่ร่วมมือในการใช้ยา. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2560;26:185–97.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในวิทยาลัยพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเอง