ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • พุทธิพร พิธานธนานุกูล สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้เป็นภาวะที่มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาโดยไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และเป็นหนึ่งในปัญหายักษ์ของผู้สูงอายุที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้หากไม่ได้รับการรักษา อาจจะทำให้เกิดการหกล้มและกระดูกหัก รบกวนการนอนหลับ ภาวะซึมเศร้า และการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ อันจะนำไปสู่อัตราการเกิดโรค อัตราการตาย  และค่าใช้จ่ายทางสุขภาพที่เพิ่มขึ้นตามมา ดังนั้นบุคลากรทีมสุขภาพจึงควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินและการจัดการภาวะนี้ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอประเภท การประเมิน และการจัดการภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ

References

สมจินต์ เพชรพันธุ์ศรี. อาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ. ใน: วิไลวรรณ ทองเจริญ, บรรณาธิการ. ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ. โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554. หน้า 218-32.

ประเสริฐ อัสสันตชัย. ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยน ครีเอชั่น; 2552.

Saboia DM, Firmiano MLV, Bezerra KC, Vasconcelos Neto JA, Oria MOB, Vasconcelos CTM. Impact of urinary incontinence types on women’s quality of life. Rev Esc Enferm USP 2017;51:1-8.

จิรวรรณ อินคุ้ม. การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2015;22:58-68.

Neki NS. Urinary incontinence in elderly. Journal of Krishna Institute of Medical Sciences University 2016;5:5-13.

Cavalcante KVM, Silva MIGC, Bernardo ASF, Souza DE, Lima TCGC, Magalhães AG. Urinary incontinence in elderly women. Rev Bras Promoc 2014;27:216-23.

Condon M, Mannion E, Molloy W, Caoimh R. Urinary and fecal incontinence: point prevalence and predictors in a university hospital. International Journal of Environmental Research and Public Health [internet]. 2019 [cited 2020 Mar 30];194:1-8. Available from: https://www.mdpi.com/1660-4601/16/2/194/htm

นิตยา จันทบุตร, นาตาลี บุญแถม, อารียา จันทะวงษ์, อารียา แสนพันธ์, อารียา อินธิเดช, อารียา พิมศรี และคณะ. ความชุกของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ของผู้สูงอายุในชุมชน [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 20 ก.พ. 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Oral%20Presentation/ Oralกลุ่ม 4 วิทยาศาสตร์สุขภาพ/3HS_O14.pdf

พุทธิพร พิธานธนานุกูล. ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตตำบลหญ้าปล้อง อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ. พยาบาลสาร 2561;45:12-25.

ผ่องพรรณ อรุณแสง, วรรณภา ศรีธัญรัตน์, เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์, ปัทมา สุริต, อัมพรพรรณ ธีรานุตร และคณะ. ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุในสถาบันบริการสุขภาพและในชุมชน. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2555;35:15-24.

Lukacz ES, Santiago-Lastra Y, Albo ME, Brubaker L. Urinary Incontinence in women A Review. JAMA 2017;318:1592-1604.

วันทิน ศรีเบญจลักษณ์, ปณิตา ลิมปะวัฒนะ. ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2556;2:82-92.

ผ่องพรรณ อรุณแสง. การพยาบาลปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ: การนำใช้. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2554.

Grimshaw R, Jain P, Latthe R. Management of mixed urinary incontinence. Women's Health 2012;8:567-77.

สุจารี อมรกิจบำรุง. ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ. ใน: ศรีเทียน ตรีศิริรัตน์ มะลิวรรณ ศิลารัตน์, บรรณาธิการ. การพยาบาลสุขภาพผู้สูงอายุ. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553. หน้า 287-96.

Nambiar AK, Bosch R, Cruz F, Lemack GE, Thiruchelvam N, Tubaro A, et al. EAU guidelines on Assessment and Nonsurgical Management of Urinary Incontinence. European Urology [Internet]. 2018 [cited 2020 Feb 20]; 7690:1-14. Available from: https://doi.org/10.1016/j.eururo.2017.12.031

Bryant CM, Dowell CJ, Fairbrother G. Caffeine reduction education to improve urinary symptoms. Br J Nurs 2002;11:560–5.

Radziminska A, Rajek MW, Straczynska A, Podhorecka M, Kozakiewicz M, Kornatowska K, et al. The impact of pelvic floor muscle training on the myostatin concentration and severity of urinary incontinence in elderly women with stress urinary incontinence–a pilot study. Clin Interv Aging 2018;13:1893-8.

Price N, Dawood R, Jackson SR. Pelvic floor exercise for urinary incontinence: a systematic literature review. Maturitas 2010;67:309–15.

จันทนา รณฤทธิวิชัย, รัชนี ศุจิจันทรรัตน์, สมจินต์ เพชรพันธุ์ศรี, ถนอมขวัญ ทวีบูรณ์, พิชัย ศุจิจันทรรัตน์, นิตยา มีหาดทราย. ผลของรูปแบบการจัดการอาการต่อระยะเวลาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุสตรี. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2556:31;7-15.

พวงทอง รัตน์วิสัย, บัววรุณ ศรีชัยกุล, ชาญชัยณรงค์ ทรงคาศรี. ผลของโปรแกรมการฝึกควบคุมการขับถ่ายของกระเพาะปัสสาวะและบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานต่อการป้องกันภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุเพศหญิง ตำบลนาตาล อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 2560:24;47-57.

Song C, Park JT, Heo KO, Lee KS, Choo MS. Effects of bladder training and/or tolterodine in female patients with overactive bladder syndrome: a prospective, randomized study. J Korean Med Sci 2006;21:1060–3.

ธรกนก พุฒศรี. ผลของโปรแกรมการจัดการเชิงพฤติกรรมต่อภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในสตรีวัยหมดประจำเดือนที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์. วารสารแพทย์นาวี 2558;42:1-16.

สมทรง จิระวรานันท์, จุฬาลักษณ์ ใจแปง. ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ:บทบาทพยาบาล. วชิรสารการพยาบาล 2562:21;77-87.

Flanagan L, Roe B, Jack B. Systematic review of care intervention studies for the management of incontinence and promotion of continence in older people in care homes with urinary incontinence as the primary focus (1966-2010). Geriatr Gerontol Int 2012;12:600–11.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-28