เนื้อแนบเนื้อสัมผัสแรกรักจากแม่สู่ลูก : ความสำคัญและการปฏิบัติ

ผู้แต่ง

  • จงลักษณ์ ทวีแก้ว กลุ่มวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ https://orcid.org/0000-0003-4606-8687
  • กัลยา บัวบาน วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนีสรรพสิทธิประสงค์
  • ปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์ วิทยาลัยพยาลบรมราชชนนี นครราชสีมา

คำสำคัญ:

เนื้อแนบเนื้อ, สายสัมพันธ์, การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

บทคัดย่อ

เทคนิคเนื้อแนบเนื้อมีความสำคัญต่อมารดาและทารกแรกเกิด เพราะเป็นเทคนิคที่สานต่อความผูกพันระหว่างมารดาและทารกซึ่งมีการพัฒนามาตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ และเป็นหนึ่งในบันไดสิบขั้นสู่ความสำเร็จในการดำเนินงานการเลี้ยงลูก  ด้วยนมแม่ขององค์การสหประชาชาติ นอกจากนี้การที่มารดาโอบกอดทารกแบบเนื้อแนบเนื้อยังช่วยเพิ่มการไหลเวียนไปยังหลอดเลือดส่วนปลายของทารก ป้องกันการเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ และภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในทารกที่คลอดจากมารดาที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ การทำเทคนิคเนื้อแนบเนื้อให้ได้ผลดีนั้นต้องทำในช่วงเวลาหนึ่งชั่วโมงหลังคลอดเพราะเป็นระยะที่ทารกมีความตื่นตัวและมารดามีความไวต่อความรู้สึกมากที่สุด พยาบาลห้องคลอดจึงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการใช้เทคนิคเนื้อแนบเนื้อเพื่อให้มารดาและทารกแรกเกิดมีความปลอดภัย แต่จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าการใช้เทคนิคนี้ ในระยะคลอดมีอุปสรรคสำคัญคือ พยาบาลที่ให้บริการขาดแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน ทำให้ขาดความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาล บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอความสำคัญของการใช้เทคนิคเนื้อแนบเนื้อและแนวทางในการปฏิบัติสำหรับพยาบาลและบุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องคลอดเพื่อให้มีความมั่นใจในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น

References

1.Widstrom A M, Brimdyr K, Svensson K, Cadwell K, Nissen E. Skin-to-skin contact the first hour after birth, underlying implications and clinical practice. Acta Paediatr 2019;108:1192-204. doi: 10.1111/apa.14754.

2.Singh.K, Khan S M, Aguirre L C, Brodish P,Amouzou A,Moran A. The importance of skin–to–skin contact for early initiation of breastfeeding in Nigeria and Bangladesh. Journal of global health 2017;7:285-93.

3.Bee M, Shiroor A, Hill Z. Neonatal care practices in sub-Saharan Africa: a systematic review of quantitative and qualitative data. J Health Popul Nutr 2018;37:9. doi: 10.1186/s41043-018-0141-5.

4.กรกนก เกื้อสกุล, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร และวิทยา ถิฐาพันธ์.ผลของการสัมผัสแบบเนื้อแนบเนื้อระหว่างมารดาและทารกภายหลังคลอดโดยเร็ว ต่อประสิทธิภาพการดูดนมของทารกและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนานหนึ่งเดือน. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2562;37:66-78.

5.ปิยภรณ์ ปัญญาวิชิร, ยิ่งขวัญ อยู่รัตน์. ผลของการให้แม่โอบกอดลูกแบบเนื้อแนบเนื้อต่ออุณหภูมิร่างกายและความอิ่มตัวออกซิเจนของทารกแรกเกิดครบกำหนดในห้องคลอด โรงพยาบาลรามาธิบดี. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2559;46:82-94.

6.Castro R C M B, Freitas C M, Castro Damasceno A K, Escoto Esteche C G,Coelho T S, Brilhante AF. Obstretic and neonatal results of assisted childbirths. Journal of Nursing 2018;4:832-39.

7.รัตนา งามบุณยรักษณ์. ผลของวิธีการพยาบาลแบบเนื้อแนบเนื้อต่ออุณหภูมิกายของทารกแรกเกิดและความผูกพันระหว่างมารดาและทารก [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.

8.Brimdyr K, Cadwell K, Stevens J, Takahashi Y. An implementation algorithm to improve skin-to-skin practice in the first hour after birth. Matern Child Nutr 2018;14:e12571. doi: 10.1111/mcn.12571.

9.Cooijmans K H M, Beijers R, Rovers A C, & de Weerth C. Effectiveness of skin-to-skin contact versus care-as-usual in mothers and their full-term infants: study protocol for a parallel-group randomized controlled trial. BMC Pediatr 2017;17:154. doi: 10.1186/s12887-017-0906-9.

10.ศศิกานต์ กาละและ รังสินันท์ ขาวนาค.การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังคลอดที่ทารกป่วย.วิทยาลัยพยาบาลสงขลานครินทร์ 2559;36(ฉบับพิเศษ) :196-208.

11.Karimi F Z, Sadeghi R, Maleki-Saghooni N, & Khadivzadeh T. The effect of mother-infant skin to skin contact on success and duration of first breastfeeding: A systematic review and meta-analysis. Taiwan J Obstet Gynecol 2019;58:1-9. doi: 10.1016/j.tjog.2018.11.002.

12.Maastrup R, Weis J, Engsig A B, Johannsen K L, & Zoffmann V. 'Now she has become my daughter': parents' early experiences of skin-to-skin contact with extremely preterm infants. Scand J Caring Sci 2018; 32:545-53. doi: 10.1111/scs.12478.

13.McCallie K R, Gaikwad N W, Castillo Cuadrado M E, Aleman M, Madigan J E, Stevenson D K, & Bhutani V K. Skin-to-skin contact after birth and the natural course of neurosteroid levels in healthy term newborns. J Perinatol 2017;37:591-5. doi: 10.1038/jp.2016.268.

14.Moore E R, Bergman N, Anderson G C, & Medley N. Early skin-to-skin contact for mothers and their healthy newborn infants. Cochrane Database Syst Rev 2016:11;Cd003519. doi:10.1002/14651858.CD003519.pub4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-08