การเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชนในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพระสงฆ์
คำสำคัญ:
การเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน, พระภิกษุสงฆ์, การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังบทคัดย่อ
ในปัจจุบันพระสงฆ์กำลังเผชิญปัญหาสุขภาพที่เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และไตวายเรื้อรัง ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการได้รับการถวายอาหารที่ไม่เหมาะสม และมีกิจกรรมทางกายน้อย เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพแก่พระสงฆ์ ชุมชนจำเป็นต้องตระหนักและใส่ใจต่อการแก้ไขปัญหานี้ ซึ่งกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน ได้แก่ 1) การพัฒนาคนเพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพระสงฆ์ 2) การสนับสนุนของกลุ่มต่างๆในชุมชน 3) การระบุปัญหาตามความต้องการของชุมชน/ องค์กรชุมชน 4) การมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน และ5) การเกิดนโยบาย/ การปฏิบัติของชุมชน เป็นกระบวนการสร้างความตระหนัก ปรับเปลี่ยนทัศนคติและความความเชื่อของพระสงฆ์และญาติโยม เพื่อให้เกิดการการปรับเปลี่ยนวิถีการปฏิบัติ อันจะทำให้พระสงฆ์มีสุขภาพที่ดีและสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
References
ขนิษฐา วิศิษฏ์เจริญ, วราภรณ์ บุญเชียง, วรรณเขตต์ หินเงิน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชนต่อความตระหนักและศักยภาพชุมชนในการป้องกันโรคเบาหวานในพระสงฆ์ ตำบลสันทรายมหาวงศ์และตำบลสารภี อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายท้องถิ่นและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2561.
กระทรวงสาธารณสุข. การขับเคลื่อนงาน “ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์” ประเด็นการติดตาม การดำเนินงานการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติสู่พื้นที่. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2561.
ทีมข่าวศาสนา. มหาเถรสมาคมประกาศขับเคลื่อน ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ. ไทยรัฐ. 2561.
Rissel C. Empowerment: The holy grail of health promotion?. Health Promot Int 1994;9:39-47.
ศนิกานต์ ศรีมณี, ชนิดา มัททวางกูร, พรพิมล ภูมิฤทธิกุล, กุลธิดา จันทร์เจริญ, เนตร หงษ์ไกรเลิศ, นารี รมณ์นุกูล. รายงานการวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของพระภิกษุสงฆ์และพฤติกรรมการภวายภัตตาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม; 2556.
พินิจ ลาภธนานนท์. สุขภาวะของพระสงฆ์ ปี 2561. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.
มติชน. สาธารณสุขเผย 3 โรคเรื้อรังในพระสงฆ์ ‘ความดัน-ไขมัน-เบาหวาน’ 2562 [เข้าถึงเมื่อ 20 เม.ย. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1368979.
ปราโมทย์ ถ่างกระโทก. บทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการโรคเรื้อรัง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2560;37:154-9.
ทีมข่าวศาสนา. มหาเถรสมาคมประกาศขับเคลื่อน ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พ.ศ. 2560 [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 เม.ย. 2562]. เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/local/1340087
พระกิตติญาณเมธี (สมเกียรติ รามัญวงศ์), วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง, สมบูรณ์ สุขสําราญ. การส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดลพบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์ 2561;12:94-107.
ศนิกานต์ ศรีมณี, ชนิดา มัททวางกูร, พรพิมล ภูมิฤทธิกุล, ระชี ดิษฐจร, พรรณี ตรังคสันต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคของพระสงฆ์และพฤติกรรมการถวายภัตตาหารแค่พระสงฆ์ของประชาชนในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 2561;19:22-38.
โรชินี อุปรา, กษิณา ชัชวรัตน์. โรคเรื้อรัง: ผลกระทบต่อสุขภาพพระสงฆ์และแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา 2559;17:17-23.
Glanz K, Rimer BK, Viswanath KV. Health behavior and health education: Theory, research and practice. 5th ed. San Francisco: John Wiley & Sons; 2015.
Kieffer CH. Citizen empowerment: A developmental perspective. Prev Hum Serv 1984;3:9-36.
อมร สุวรรณนิมิตร. การพยาบาลปฐมภูมิกับการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน. มหาสารคาม: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2553.
กุนนที พุ่มสงวน. การสร้างเสริมพลังอำนาจทางสุขภาพ: บทบาทที่สำคัญของพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก 2557;15:86-90.
มินตรา สาระรักษ์, วรารัตน์ สังวะลี, วิลาศ คำแพงศรี. ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของพระภิกษุสงฆ์ อำเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทนาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2560;19:37-48.
Bandura A. Encyclopedia of human behavior. 4th ed. New York: Academic Press; 1994.
Fawcett SB, Paine-Andrews A, Francisco VT, Schultz JA, Richter KP, Lewis RK, et al. Using empowerment theory in collaborative partnerships for community health and development. Am J Community Psychol 1995;23:677-97.
Wold Health Organization. Health promotion: Track 1: Community empowerment [Internet]. 2009 [cited 2013 Jan 2]. Available from: http://www.who.int/healthpromotion/conferences/7gchp/track1/en/index.html
Choksawadphinyo K. Empowerment on family caregivers for quality of life development in people living with HIV/AIDs. KKU Research Journal 2011;16:416-27.
Rifkin SB. A framework linking community empowerment and health equity: It is a matter of CHOICE. J Health Popul Nutr 2003;21: 168-80.
Gibson CH. A concept analysis of empowerment. J Adv Nurs 1991;16:354-61.
Wisitcharoen K, Boonchieng B, Suwanprapisa T, Buddhirakkul P. The effects of a community empowerment program on community awareness and capacity among stakeholders in diabetes prevention in Buddhist monks. ASR: CMU Journal of Social Sciences and Humanities 2016;3:133-49.
Jindal HA. Health Education: Informing, Educating and Empwering Citizens [Internet]. 2014 [cited 2017 April 20]. Available from: https://www.slideshare.net/harjindal/health-education-37280424
Sayers R. Principles of awareness-raising for information literacy: a case study. Bangkok: UNESCO Bangkok; 2006.
Laverack G. Using a ‘domains’ approach to build community empowerment. Community Development Journal 2006;41:4-12.
สงฆ์ไทยไกลโรค. พระสงฆ์ก็ออกกำลังกายได้ (ตามหลักกิจวัตร 10 ของสงฆ์). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; 2560.
Coppola A, Sasso L, Bagnasco A, Giustina A, Gazzaruso C. The role of patient education in the prevention and management of type 2 diabetes: an overview. Endocrine 2016;53:18-27.
Deepa M, Bhansali A, Anjana RM, Pradeepa R, Joshi SR, Joshi PP, et al. Knowledge and awareness of diabetes in urban and rural India: The Indian Council of Medical Research India Diabetes Study (Phase I): Indian Council of Medical Research India Diabetes. Indian J Endocrinol Metab 2014;18:379-85.
Unwin N, Marlin A. Diabetes action now: WHO and IDF working together to raise awareness worldwide. Diabetes Voice 2004;49:27-31.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในวิทยาลัยพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเอง