การพยาบาลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมในชุมชน

ผู้แต่ง

  • วิษณุ จันทร์สด ภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน วิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, ภาวะสมองเสื่อม, พยาบาลชุมชน

บทคัดย่อ

ภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุเป็นภาวะที่ถดถอยบกพร่องของสมอง ผลกระทบจากภาวะสมองเสื่อมทำให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลทุกข์ทรมาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้และการดูแลภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุสำหรับพยาบาลในชุมชน เนื่องจากพยาบาลในชุมชนมีความเกี่ยวข้องกับชุมชน ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ดังนั้นความรู้และวิธีการดูแลที่ถูกต้อง จึงเป็นประเด็นที่สำคัญสำหรับพยาบาลในชุมชน ที่จะให้การดูแลทั้งระยะก่อนการวินิจฉัยโรค ระยะรับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะสมองเสื่อม และระยะท้ายของชีวิต เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนหรือการสูญเสียชีวิตในอนาคต

References

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จากัด; 2557.

Korolev I O. Alzheimer’s disease: a clinical and basic science review. Med Student Res J 2014;4:24-33.

Alzheimer's Disease International. Policy brief for G8 heads of government. The global impact of dementia 2013-2050. London: Alzheimer's disease International; 2013.

Miller C A. Nursing for wellness in older adults. 5th ed. New York: Lippincott; 2009.

วิชัย เอกพลากร. รายงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2557.

ปวีณา นพโสตร และ รังสิมันต์ สุนทรไชยา. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความหวังแบบครอบครัวมีส่วนร่วมต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ. วารสารพยาบาลตำรวจ 2558;7:84-94.

สิรินทร ฉันศิริกาญจน. ตำราเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์กระทรวงสาธารสุข; 2551.

พาวุฒิ เมฆ, สุรินทร์ แซ่ตัง. ผลกระทบจาการดูแลผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมในประเทศไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2556;58:101-10.

สมจินต์ โฉมวัฒนะชัย, สมฤดี เนียมหอม. การศึกษาสภาพปัญหาในการดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมในชุมชนจังหวัดนนทบุรี. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์กระทรวงสาธารสุข; 2552.

สิรินทร ฉันศิริกาญจน, บรรณาธิการ. สมองเสื่อม. เอกสารประกอบการประชุม; 2-6 พฤศจิกายน 2558; กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.; 2558.

Richard E, Ligthart S A, Moll van Charante E P, vanGool W A. Vascular risk factors and dementia-towards prevention strategies. Neth J Med 2010;68:284-90.

Srisuwan P. Primary prevention of dementia: Focus on modifiable risk factors. J Med Assoc Thai 2013;96:251-8.

Ganguli M, Snitz BE, Lee C W, Vanderbilt J, Saxton J A, Chang CC. Age and education effects and norms on a cognitive test battery from a population-based cohort: The Monongahela–Youghiogheny Healthy Aging Team. Aging Ment Health 2010;14:100-7.

Poltavski DV, Marino JM, Guido JM, Kulland A, Petros TV. Effects of acute alcohol intoxication on verbal memory in young men as a function of time of day. Physiol Behav 2011;102:91-5.

Alzheimer’s Association. Alzheimer’s disease facts and figures. Alzheimers Dement 2010;6:158-94.

อุดม ภู่วโรดม. “ภาวะสมองเสื่อม” พบในผู้สูงอายุมากสุด [อินเตอร์เน็ต]. 2559. [เข้าถึงเมื่อ 3 พ.ค. 2561] เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2015/04/9712

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม.กรุงเทพมหานคร: ธนาเพลส จากัด; 2557.

กัมมันต์ พันธุมจินดาและศรีจิตรา บุนนาค. สมองเสื่อม: โรคหรือวัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ; 2543.

Muangpaisan W. Dementia: prevention, assessment and care. 1sted. Bangkok: Department of Preventive and Social Medicine Faculty of Medicine Siriraj Hospital; 2013.

Huné -Boyle ICV, Iliffe S, Cerga-Pashoja A, Lowery D, Warner J. The effectof exercise on behavioral and psychological symptoms of dementia: towards a research agenda. Int Psychogeriatr 2012; 24:1046-57.

อนงค์ ภิบาล, วิภารัตน์ จันทร์แสงรัตน์, ประเสริฐ ไพบูลย์รุ่งโรจน์. การพัฒนานวัตกรรมแอนิเมชั่นเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุโดยใช้หลักมิติจิตวิญญาณ ตามวิถีมุสลิมสุด [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2561] เข้าถึงได้จาก: http://rms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/101117_111021f.pdf

พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์, สังข์ นุชจรีรัตน์ ชูทองรัตน์, ปัญจภรณ์ ยะเกษม. ปัจจัยที่เป็นตัวทำนายภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชน [อินเตอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2561] เข้าถึงได้จาก: www.stic.ac.th/ inter/main/th/about/prevision_factors_of_dementia_in_elderly.pdf.

พัชญ์พิไล ไชยวงศ์, เพื่อนใจ รัตตากร, พีรยา มั่นเขตวิทย์. ผลของโปรแกรมฝึกความคิดความเข้าใจต่อความสามารถด้านความคิดความเข้าใจและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่สงสัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ 2558;48:182-91.

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม. คู่มือโครงการบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์. นนทบุรี: สำนักอนามัย สิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2559.

Hong G-R S, Kim H. Family caregiver burden by relationship to care recipient with dementia in Korea. Geriatr Nurs 2008;29:267-74.

กานดา วรคุณพิเศษ, ศิริพันธุ์ สาสัตย์. ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้า เพื่อลดภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม. วารสารเกื้อการุณย์ 2558;22: 82-97.

ภูดิศ สะวิคามิน. ที่นอนลมที่ผลิตจากถุงน้ายาล้างไตเพื่อป้องกันแผลกดทับ. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2559;2:456-63.

ปัญญภัทร ภัทรกัณทากุล. ผลของการใช้นวัตกรรมที่นอนยางรถเพื่อป้องกันแผลกดทับในผู้ป่วยที่มีความเสียงต่อการเกิดแผลกดทับ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2555;22:48-60.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-09-28