การอยู่ไฟ: ทางเลือกของมารดาหลังคลอด

ผู้แต่ง

  • อุดมวรรณ วันศรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์
  • สายพิณ เกตุแก้ว วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

คำสำคัญ:

การอยู่ไฟ, หลังคลอด, มารดา

บทคัดย่อ

มารดาหลังคลอดส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้า ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการคลอด นอนหลับพักผ่อนได้น้อยเนื่องจากปวดมดลูก ปวดแผลฝีเย็บหรือแผลผ่าตัด เต้านมคัดตึงและต้องให้นมลูก การฟื้นฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอดจึงมีความสาคัญ ทางเลือกหนึ่งของการดูแล คือ การดูแลแบบพื้นบ้านที่เรียกว่า “การอยู่ไฟ” ซึ่งเชื่อว่าเป็นการปรับสมดุลตามหลักทฤษฎีธาตุ ประกอบด้วยการนั่งหรือนอนผิงไฟ เข้ากระโจม อาบสมุนไพร นั่งถ่าน ทับหม้อเกลือ นวด ประคบและการรับประทานอาหาร โดยมารดาหลังคลอดสามารถเลือกและปรับวิธีการอยู่ไฟตามความเชื่อที่ครอบครัวได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรมและความสะดวก ปัจจุบันสามารถเลือกใช้การอยู่ไฟทั้งจากสถานบริการของรัฐหรือปฏิบัติเองที่บ้าน เพื่อการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอด

References

ยุพา จิ๋วพัฒกุล. การพยาบาลครอบครัว. นครปฐม: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล; 2559.

เสาวนีย์ กุลสมบูรณ์, รุจินาถ อรรถสิษฐ, บรรณาธิการ. ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านอีสาน, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์; 2548

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2552.

สมหญิง พุ่มทอง, ลลิตา วีระเสถียร, วรพรรณ สิทธิถาวร, อภิชาต รุ่งเมฆารัตน์, อรลักษณา แพรัตกุล. การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยในจังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2553;4(2):281-95.

สถาบันการแพทย์แผนไทยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข. 5 อ กับการแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2550.

บุญศรี เลิศวิริยจิตต์. รายงานการวิจัยเรื่องคลังภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านกับสมุนไพรชุมชนภาคอีสาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2554.

Elter P.T, Kennedy HP, Chesla C.A., Yimyam S. Spiritual Healing Practices Among Rural Postpartum Thai Women. Journal of Transcultural Nursing. 2014:1-7 Downloaded from tcn. Sagepub. Com bygucst on October 10, 2014.

Leifer G. Maternity Nursing and Introductory Text. 11th ed. Canada: Elsevier Saunders; 2012.

ละเอียด แจ่มจันทร์, สุรี ขันธรักษ์วงศ์, สุนทร หงส์ทอง, นพนัฐ จำปาเทศ. การแพทย์แผนไทยกับการบริบาลมารดาหลังคลอดในชุมชนภาคกลาง วารสารพยาบาลทหารบก. 2557;15(2):195-202

สุภาวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. บทที่ 9 การใช้ความร้อนและความเย็นเพื่อการบำบัดใน สุภาวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, สุมาลี โพธิ์ทอง สัมพันธ์ สันทนาคณิต, บรรณาธิการ. ปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน 1. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์; 2558. หน้า 142-90.

สุภาวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. บทบาทพยาบาลในการใช้ความร้อนและความเย็นเพื่อการบำบัด. ใน: อรชร ศรีไกรล้วน, สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, อมรรัตน์ เลขาสุวรรณ, บรรณาธิการ. การพยาบาลพื้นฐานเล่ม 2: Fundamentals of Nursing II. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์; 2557. หน้า 35-61.

Murray SM, Mckinney ES. Foundations of Maternal Newborn and Women’s Health Nursing. 6th ed. Missouri: Elsevier Saunders; 2014.

Chontira R, kosit P, Taksina k.Intregation of Isan Traditional knowledge in the Holistic Health Treatment of Postpartum Mothers. Asian Culture and History. 2014;6(2):227-34.

Thasanoh P. Northeast Thai Women’s Experience in Following Traditional Postpatum Practices. Doctorate of Philosophy’s Dissertation in Nursing, The University of California; 2010.

สุธรรม นันทมงคลชัย, ภัทรา สง่า, เรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป, ระวีวรรณ ชอุ่มพฤกษ์ อาภาพร พัววิไล, จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. ประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์การคลอดและการปฏิบัติตัวของมารดาหลังคลอดใน 4 พื้นที่ศึกษา 4 ภาคของประเทศไทยโดยวิจัยระยะยาวในเด็กไทย. เอกสารรายงานวิชาการโครงการวิจัยระยะยาวในเด็กไทยระยะที่1 ฉบับที่12. ม.ป.ท.: 2546.

ประพจน์ เภตรากาศ, จิราพร ลิมปานานนท์, รัชนี จันทร์เกษ. การวิจัยการบูรณาการการแพทย์แผนไทย: สถานการณ์การให้บริการการแพทย์แผนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: อุษาการพิมพ์; 2551.

รัชนี จันทร์เกษ, วีระพงษ์ เกรียงสินยศ, เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์. การบูรณาการการแพทย์แผนไทย บทบาทวัดกับการดูแลสุขภาพชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักกิจกรรมโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2551.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-28