Problems and needs of community supports related to living in hardship among older people
Keywords:
Hardship, Problems, Needs, Older people, Qualitative research, CommunityAbstract
The number of older people is increasing, and they are prone to live in hardship due to chronic illness, and decreased self-help in activities of daily living. They also tend to live alone without being care by their children. The purpose of this study was to investigate the problems and the needs for community care of older people living in hardship using qualitative research methods. Observation, in-depth interview, document study and focus group discussion were employed for data collection. Data were analyzed by content analysis. A total of 85 informants were selected by a purposive sampling method, consisting of the representatives of 1) the public sector and local organizations, 2) health service units, 3) local administrative organizations, 4) local leaders, village headmen and related agencies, and 5) older people living in hardship and their family members. The results show that the problems and the needs for community care of older people were in the following 5 dimensions: 1) social dimension, 2) economic dimension, 3) environmental dimension, 4) health dimension and 5) political and governance dimension. The recommendations from the research were as follows: 1) The care of the community should respond to the problems and needs of caring for the older people living in hardship. 2) Organizing activities to instill values and responsibilities of gratitude toward the elderly in the new generation. They are the ones who preserve the traditional and cultural values see the value of the elderly and do not abandon them, and 3) make a plan for taking care of the elderly by creating cooperation from agencies in the area, including local government organizations health promotion hospitals, people and leaders in the community.
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.. (2563). คู่มือการดำเนินการโครงการให้บริการสงเคราะห์ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะยากลำบาก ประจำปีงบประมาณ 2563 (ฉบับปรับปรุง). สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2565, จาก http://www. chainat.m-society.go.th
กันนิฐา มาเห็ม, ปิยนุช ภิญโย, รัชนี พจนา และ พัฒนี ศรีโอษฐ์. (2563). ประสบการณ์ของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลำพังและความต่างระหว่างหญิงและชาย: การวิจัยชาติพันธุ์วรรณาอภิมาน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(2), 138-147.
กิตติพร เนาว์สุวรรณ และ มาริสา สุวรรณราช. (2562). สภาพปัญหาและความต้องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ที่อยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ตอนล่าง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 11(2), 118-132.
เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, จุฑาธิป ศีลบุตร และ กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์. (2560). การจัดการดูแลผู้สูงอายุที่ประสบภาวะยากลำบากโดยองค์กรสาธารณสุข. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 10(3), 159-181.
ขนิษฐา นันทบุตร. (2551). การดูแลสุขภาพชุมชน: แนวคิด เครื่องมือ การออกแบบ. นนทบุรี: อุษาการพิมพ์.
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สามลดา.
จงรักษ์ ชาติรูปฏิวิน. (2561). ปัญหาของผู้สูงอายุกับการจัดสวัสดิการชุมชนในเขตเมือง: ศึกษากรณี 2 ชุมชน ในเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยสังคม, 41(2), 67-96.
จิณณ์ณิชา พงษ์ดี และ ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์. (2558). ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหมืองแบ่ง ตำบลหนองหญ้าปล้อง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3(4), 561-576.
ณิชารีย์ ใจคำวัง, วรดา จักษุพรรณ, วลีพร น้อยเจือ, สกาวเดือน ชุ่มชุมภู และ อินธิรา ตระกูลฤกษ์. (2562). ศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 1, 1-19.
ณัฏฐ์ฐิตตา เทวาเลิศสกุล, วณิฎา ศิริวรสกุล และ ชัชสรัญ รอดยิ้ม. (2559). แนวทางการพัฒนาผู้สูงอายุจากภาระให้เป็นพลัง กรณีศึกษาเทศบาลนครรังสิต. วารสารฉบับอิเลคทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(1), 529-545
นอรินี ตะหวา และ ปวิตร ชัยวิสิทธิ์. (2559). การจัดการสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุในเขตเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 5(1), 31-39.
ปาริชาติ รัตนราช, กชพงศ์ สารการ และ ไพรวัลย์ โคตรตะ. (2563). ศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับบริบทวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 147-155.
พันนิภา บุญจริง. (2558). การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานของผู้สูงอายุ ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 8(2), 1-8.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2561. นครปฐม: บริษัทพริ้นเทอรี่ จำกัด.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2564. กรุงเทพ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
แววใจ พ้นภัย. (2563). ปัญหาและความต้องการการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในบริบทอำเภอสงหนคร จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 3(3), 32-48.
ศิราณี ศรีหาภาค, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และ คณิศร เต็งรัง. (2557). ผลกระทบและภาระการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้วัฒนธรรมไทย. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฎ์, จิรบูรณ์ โตสงวน และ หทัยชนก สุมาลี. (2553). บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพและข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพนนทบุรี: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2565). การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: กองสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
อาทิตย์ บุญรอดชู, อุไร จเรประภาฬ, กำไล สมรักษ์ และ รุ่งนภา บุญรอดชู. (2564). การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยการเปรียบเทียบสมรรถนะของชุมชนท้องถิ่น ตำบลคีรีวง อำเภอปลายพะยา จังหวัดกระบี่. วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 171-179.
อัมภรณ์ ภู่ระย้า และขนิษฐา นันทบุตร. (2562). ศักยภาพของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(1), 22-31.
Ebersol, P. & Hess, P. (2019). Theories of aging. In toward healthy aging human need and nursing response (10thed). St Louis: Mosby.
Guba, E.G. & Lincoln, Y.S. (1989). Fourth generation evaluation. Philadelphia: Sage.
Karma, B. Ada-Katrin, B & Handler-Schuster, D. (2021). Exploring health-relate needs of elderly people (70+) at home: a qualitative study from Switzerland. Journal of Primary Care & Community Health, 12, 1-7.
Savage, R., K, H., Bashi, A. M., Bronskill, S. E., Faulkner, C., Grieve, J., . . . Rochon, P. A. (2021). Perspectives on ageing: a qualitative study of older people's expectations, priorities, needs and values from two Canadian provinces. Age And Aging. 50(5), 1811-1819. doi:10.1093/ageing/afab136
Schreier, M. (2012). Qualitative content analysis in practice. London: Sage.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Journal of Nursing and Health Research
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.