ผลของโปรแกรมติดตามส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาผ่าน Facebook ต่อความสำเร็จ ในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวนาน 12 สัปดาห์ ของมารดาทำงานนอกบ้าน

Authors

  • ศุทธินี รุจิระพงค์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Keywords:

การรับรู้สมรรถนะแห่งตน, เฟสบุ๊ค, การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว, มารดาทำงานนอกบ้าน, Self - efficacy, Facebook, Exclusive breastfeeding, Working mothers

Abstract

การที่มารดาหลังคลอดต้องให้นมบุตรพร้อมไปกับการทำงานนอกบ้านนั้น เป็นสิ่งที่มีผลต่อความเชื่อมั่นของมารดาในการที่จะเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวให้ประสบความสำเร็จ การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมติดตามส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาผ่านFacebook ต่อความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวนาน 12 สัปดาห์ ของมารดาทำงานนอกบ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาทำงานนอกบ้านจำนวน 52 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 คน ที่นำมาจับคู่ให้มีลักษณะข้อมูลคล้ายคลึงกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมติดตามส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาของมารดาทำงานนอกบ้านผ่านช่องทาง Facebook 2) แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา 3) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 4) แบบสอบถามความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติ Fisher exact test ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีสัดส่วนของมารดาที่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวนาน 12 สัปดาห์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p = 0.032 โปรแกรมติดตามส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ผ่าน Facebook นี้ จึงสามารถนำไปใช้ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาเพื่อเพิ่มความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวของมารดาทำงานนอกบ้านได้ต่อไป

Effect of Self - efficacy Monitoring and Promoting Program Through Facebook on Success in 12 weeks

Exclusive  Breastfeeding  among Working Mothers

The mother after childbirth who need to sustain the role of maternal breastfeeding, along with worker role can effect on self - efficacy to success in exclusive breastfeeding. The purpose of this quasi-experimental study was to examine the effect of self-efficacy monitoring and promoting program through Facebook on success in 12 weeks exclusive breastfeeding among working mothers. The subjects consisted of 52 working mothers.They were recruited by inclusion criteria and equally assigned into control group and experimental group with 26 members in each group. Each group have subjects with similar characteristics was matched. The research instruments were 1)the self – efficacy of breastfeeding monitoring and promoting program on working mothers through Facebook 2) the self - efficacy of breastfeeding questionnaire 3)personal information questionnaire 4)the success in 12 weeks exclusive  breastfeeding  questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and Fisher exact test.The results revealed that the experimental group had statistically significant higher success in 12 weeks exclusive breastfeeding than control group atsignificantlevelp = 0.032. It showed that this program could be use for promoting of breastfeeding to increase in success of exclusive breastfeeding among working mothers in the next.

References

1. กรรณิการ์ วิจิตรสุคนธ์, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, นันทิยา วัฒายุ, สุพินดา เรืองจิรัษเฐียร, และ สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2555). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรี-วัน.
2. กองแผนงาน กรมอนามัย. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564).สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2560, จากhttps://planning.anamai.moph.go.th/download/D_Strategic/2560/down/KPI_Doh_SM60 compressed.pdf
3. จิรนันท์ วีรกุล. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร. นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12 วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ, (ฉบับพิเศษ), 746-757.
4. โบว์ชมพู บุตรแสงดี, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และจันทรรัตน์ เจริญสันติ. (2556). ผลของการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง. พยาบาลสาร, 40(3), 1-10.
5. พัชรินทร์ ไชยบาล. (2553). ผลของการการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวของมารดาที่มีบุตรคนแรก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6. พรนภา ตั้งสุขสันต์, และเอมอร รตินธร. (2554). ประสบการณ์และปัจจัยเชิงบริบทที่เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาที่ทำงานนอกบ้านเต็มเวลา. Journal of Nursing Science, 29(3), 52-63.
7. พรพิมล อาภาสสกุล. (2559). ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคขัดขวางการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของสตรีไทย. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 30(2), 133-146.
8. ภัทรพรรณ ทำดี. (2559). เส้นทางสายน้ำนมแม่:ประสบการณ์การต่อสู้ของแม่ทำงานยุคใหม่เพื่อแลกกับการได้เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมตนเอง. วารสารวิจัยสังคม, 39(1), 1-37.
9. มัทนา สังวาลย์, และนิตยา โรจนนิรันดร์กิจ. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของสื่อการสอนระหว่างสื่อวีดิทัศน์กับภาพพลิกในด้านความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวหลังคลอดและทักษะการ ให้นมมารดาของสตรีหลังคลอด. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 29(1), 56-66.
10. ยุพยง แห่งเชาวนิช, กรรณิการ์ วิจิตรสุคนธ์, ศิริพัฒนา ศิริธนารัตนกุล, อังสนา วงศ์ศิริ, และอัญชรี พรหมสกุล. (2557). คู่มือแม่ทำงานเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไอยรา.
11. รุจิรา ภู่ทวี. (2551). ปัจจัยการรับรู้ ปัจจัยร่วม และพฤติกรรมการเตรียมตัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่องก่อนกลับไปทํางานของมารดาที่ทํางานนอกบ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ขั้นสูง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
12. ศุภวิทย์ มุตตามระ, กุสุมา ชูศิลป์, อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, วราภรณ์ แสงทวีสิน, และยุพยง แห่งเชาวนิช. (2555). ตำราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. กรุงเทพฯ: มูลนิธินมแม่แห่งประเทศไทย.
13. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). รายงานโครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2555. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2560, จาก https://www.unicef.org/thailand/tha/media_22564.html
14. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). รายงานโครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2558-2559. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2560, จาก
https://www.m-society.go.th/article_attach/18373/20281.pdf
15. สุธัญญา นวลประสิทธิ์, พวงเพชร วุฒิพงศ์, และกษิรา จันทรมณี. (2553). ผลของการใช้สื่อวิดิทัศน์ต่อความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองผู้ป่วยตาต้อกระจกและญาติผู้ดูแล. วารสาร สภาการพยาบาล, 25(2), 78-86.
16. สุสัณหา ยิ้มแย้ม. (2556). การส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาทำงานนอกบ้าน.พยาบาลสาร, 40(3), 129-135.
17. แสงเดือน ผ่องพุฒ. (2556). สื่อสังคมออนไลน์ : แนวทางการนํามาประยุกต์ใช้ (Social media : How to application).วารสารวิชาการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 3(20), 1-22.
18. อุษณีย์ จินตะเวช, เทียมศร ทองสวัสดิ์, และลาวัลย์ สมบูรณ์. (2557). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวของมารดาหลังคลอด. พยาบาลสาร, 41(1), 133-145.
19. อุษณีย์ จินตะเวช, นภัสนันท์ สุขเกษม, เทียมศร ทองสวัสดิ์, และลาวัลย์ สมบูรณ์. (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและการสนับสนุนทางสังคมต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและอัตราการเลี้ยงบุตรด้วยนมารดาอย่างเดียวของมารดาหลังคลอด, วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 27(1), 34-47.
20. Bai, Y., Middlestadt, S. E., Peng, C. Y., & Fly, A. (2010). Predictors of continuation of exclusive breastfeeding for the first six months of life. Journal of Human Lactation, 26(1), 26-34.
21. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman and Company.
22. Burns, N., & Grove, S. K. (2010). The practice of nursing research: Conduct, critique, and utilization (7thed.). St. Louis: Elsevier Saunders.
23. Demirtas, B. (2012). Strategies to support breastfeeding: a review. International Nursing Review, 59(4), 474-481.
24. Dennis, C. L. (1999). Theoretical underpinnings of breastfeeding confidence: A self-efficacy framework. Journal of Human Lactation, 15, 195-221.
25. Dennis, C. L. (2003). The breastfeeding self-efficacy scale: psychometric assessment of the short form. Journal of Obstetric, Gynecologic, and Neonatal Nursing, 32, 734-743.
26. Hannula, L., Kaunonen, M., & Tarkka, M. T. (2008). A systematic review of professional support interventions for breastfeeding. Journal of Clinical Nursing, 17(9), 1132-1143.
27. Hannakaisa, N. V. (2015). Aiming to be a breastfeeding mother in a neonatal intensive care unit and at home: a thematic analysis of peer-support group discussion in social media. Maternal and Child Nutrition, 11, 712–726.
28. Hsu, W., Chiang, C. & Yang, S. (2014). The Effect of Individual Factors on Health Behaviors Among College Students: The Mediating Effects of eHealth Literacy. Journal of Medical Internet Research, 16(12), e287.
29. Jager, E. D., Broadbent, J., Fuller-Tyszkiewicz, T., & Skouteris, H. (2014). The role of psychosocial factors in exclusive breastfeeding to six month postpartum. Midwifery, 30, 657-666.
30. Kingston, D., Dennis, C. L., & Sword, W. (2007). Exploring breast-feeding self-efficacy. Journal of Perinatal & Neonatal Nursing, 21(3), 207-215.
31. Leslie, M. (2004). Counseling women about elective cesarean section. Journal of Midwifery & Women’s Health, 4(2), 155-159.
32. Lisa, M. D., Dell, H., Philippa, F. M., Frances, M. B., and Vicki, F. (2017). The effect of mobile application interventions on influencing healthy maternal behavior and improving perinatal health outcomes: a systematic review protocol. Systematic Reviews, 6-26.
33. McQueen, K. A., Dennis, C. L., Stremler, R., & Norman, C. D. (2011). A Pilot randomized controlled trial of breastfeeding self-efficacy intervention with primiparous mothers. Journal of Obstetric, Gynecologic, a 35-46.
34. Semenic, S., Loiselle, C., & Gottlieb, L. (2008). Predictors of the duration of exclusive breastfeeding among first-time mothers. Research in nursing & Health, 31, 428-441.
35. Thulier, D., & Mercer, J. (2009). Variable associated with breastfeeding duration. Journal of Obstetric, Gynecologic, and Neonatal Nursing, 38, 259-268.
36. Wilhelm, S. L., Rodehorst, T. K., Stepans, M. B., Hertzog, M., & Berens, C. (2006). Influence of intention and self-efficacy levels on duration of breastfeeding for Midwest rural mothers. Applied Nursing Research, 21, 123-130.
37. World Health Organization. (2017). Guideline: protecting, promoting and supporting breastfeeding in facilities providing maternity and newborn services. Retrieved January 10, 2018, from https://www.who.int/nutrition/publications/guidelines/breastfeeding-facilities-maternity-newborn/en/
38. Zhu, J., Chan, W. S., Zhou, X., Ye, B., & He, H. (2014). Predictors of breastfeeding self-efficacy among Chinese mothers : A cross-sectional questionnaire survey. Midwifery, 30, 705-711.

Downloads

Published

2019-06-10

How to Cite

รุจิระพงค์ ศ. (2019). ผลของโปรแกรมติดตามส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาผ่าน Facebook ต่อความสำเร็จ ในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวนาน 12 สัปดาห์ ของมารดาทำงานนอกบ้าน. Journal of Nursing and Health Research, 20(2), 69–81. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/142856