ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ชุมชนกะเหรี่ยงรวมมิตร ตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

Authors

  • tithima - tasuwanin Chiang Rai Rajabhat University

Keywords:

คุณค่าในตนเอง, ผู้สูงอายุ, ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง, Self – Esteem, Elderly, Karen Ethnic Group

Abstract

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ชุมชนกะเหรี่ยงรวมมิตร ตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย กลุ่มประชากรที่ศึกษาเป็นผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงรวมมิตร ตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จำนวน 102 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น ได้ผ่านการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านได้เท่ากับ 0.67-1 และนำมาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach alpha’s coefficient) เท่ากับ .89วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 51.0) มีอายุระหว่าง 60 – 69 ปี (ร้อยละ 54.0) มีระดับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับดี (μ=3.16,σ= .582)เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าผู้สูงอายุรู้สึกว่าสมาชิกในครอบครัวรักตนเองมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (μ=3.66, σ= .517) และด้านการความสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (μ=2.84, σ= .641) และเมื่อพิจารณาระดับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี (ร้อยละ 94.1)  รองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 5.9)ผลการศึกษาดังกล่าวเป็นแนวทางหนึ่งในการนำไปวางแผนการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพที่เน้นการเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์กระเหรี่ยง ต่อไป

The Perceived of Self – Esteem among Karen Elderly People atBan KariengRuammit, Muang District, Chiang Rai Province.

The purposes of this cross sectional survey research study were to investigate Self – Esteem in the Karen elderly people at Ban KariengRuammit, Muang District, Chiang Rai Province. The population consisted of 102 Karen elderly people. The research instruments included the Personal Data Recording form and Self – Esteem questionnaires.  A Self – Esteem questionnaires with construct validity of0.67-1, and the Cronbach alpha’s reliability of .89 was used for data collection. The data were analyzed using frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation.The result of this study revealed that overall female found that 51.0 percent between 60 – 69 years that 54.0 percent and overall Self – Esteem were at the high level (μ=3.16, σ= .582). When considered in each aspect,it was found that Feel that family members love themselves was the high level (μ=3.66, σ= .517) and give information for the community was the low level(μ=2.84, σ= .641). Self – Esteem overall level was at the high level(94.1%) and moderate level(5.9%).We recommend that the result of this study can be used for the Karen’s health promotion model focuses on enhancing self-esteem of the elderly in the Karen ethnic group.

References

กาญจนรัตน์ คำเพชรดี,วัลภา สบายยิ่ง, และนิรนาท แสนสา.(2558). ปัจจัยที่มีผลต่อความภาคภูมิใจในตนเองของผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดอุบลราชธานี.การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4.
กรมสุขภาพจิต. (2550). รายงานสรุปผลการสำรวจทรัพยากรด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย ปี 2550.นนทบุรี: ศูนย์สารสนเทศ กองแผนงานกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
บุษยา วงษ์ชวลิตกุล, วิรัช สงวนวงศ์วาน, สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, ธนกร ลิ้มศรัณย์, สิริวดี ไทยสมัคร และคณิต เรืองขจร.(2559).ความรู้และทัศนคติของผู้ดูแลผู้สูงอายุกรณีศึกษาผู้ดูแลผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง และสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์วัดม่วงจังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย,5(2):74-92
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.(2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2559.สืบค้นเมื่อเมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2561] จาก http://thaitgri.org/?p=38427
รศรินทร์เกรย์, อุมาภรณ์ พัทรวาณิชย์, เฉลิมพล แจ่มจันทร์, และเรวดี สุวรรณนพเก้า.(2556).มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ มุมมองเชิงจิตวิทยาสังคมและสุขภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิชัย เอกพลากร. (2557). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557.
นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
สิริพร สุธัญญา.(2550). พฤติกรรมการดูแลตนเองกับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุในสวนรมณีนาถกรุงเทพมหานคร. [สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต].นครนายก : วิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุพรรษา แสงพระจันทร์,จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, และเวทิส ประทุมศรี.(2016).การรับรู้ความหมายความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข,26(2).76-86.
สุภรัชต์ อินทรเทพ, สุวารีย์ ศรีปูณะ, และผมหอม เชิดโกทา (2560) ศึกษาเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาการถ่ายทอดภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน ในการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในชุมชน จังหวัดสระแก้ว.วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(21):275-285
สุวิทย์ คุณาวิศรุต .(2559).การเห็นคุณค่าตนเองที่มีผลต่อสภาวะทันตสุขภาพของผู้สูงอายุต.ทับตีเหล็ก อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี.วารสารทันตภิบาล, 27(2) : 98-109.
สำนักโรคไม่ติดต่อกลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2558). จำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ปี พ.ศ. 2550-2558 จำแนกรายจังหวัด. สืบค้นเมื่อ14 ธันวาคม 2561,จาก http://www.thaincd.com/ information-statistic/non-communicable- disease-data.php.
Abdul, H.H.( 2014). Self Esteem and Its Relation to Depression among the Elderly.International Journal of Business and Social Science, 5(3).266-273.
Ackerman,D.J.(2004). Critical care nursing for older adults: pathophysiological and functional considerations. NursClin N Am, 39: 473-493.
Cheng, H &Furnham, A.(2003).Personality, self-esteem and demographic predictions of happiness and depression. Pers Individual Differences ,34: 921-42.
Emily, K. & Jose, J.M.(2017). Association of lifestyle behaviours with self-esteem through health-related quality of life in Spanish adolescents.Eur J Pediatrics,176:621–62.
Maslow, A.(1970). Motivation and Personnality. New York : Harper and Row Publishers.
McGuire ,C.L., Strine, W.S., Okoro, A.C., Ahluwalia, I.B., Ford, S.E.(2003). Healthy Lifestyle Behaviors Among Older U.S. Adults With and Without Disabilities, Behavioral Risk Factor Surveillance System.Retrieved July 6, 2018, fromhttp://www.cdc.gov/pcd/ issues/2007/jan/06_0029.htm.
Schafer, M.H. &Shippee, T.P. (2010). Age identity, gender, and perceptions of decline: does feeling older lead to pessimistic dispositions about cognitive aging?.Journals of Gerontology Series B: Psychological Sciences and Social Sciences, 65B (1): 91-96.
Talf, L. B. (1985). Self-esteem in later life: A NursingPerspective. Advance in Nursing Science,
8(1), 77-84.

Downloads

Published

2019-04-17

How to Cite

tasuwanin, tithima .-. (2019). ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ชุมชนกะเหรี่ยงรวมมิตร ตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. Journal of Nursing and Health Research, 20(1), 90–99. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/140726