Exercise for slow progression in patients with kidney disease

Authors

  • ลักขนา ชอบเสียง Boromarajonani College of Nursing Sanpasithiprasong

Keywords:

การออกกำลังกาย, โรคไตเรื้อรัง, Exercise management, Chronic kidney disease

Abstract

โรคไตเรื้อรัง ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกรวมทั้งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่จะนำไปสู่การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดการดำเนินของโรคไปสู่ภาวะโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย แนวทางการดูแลรักษานั้นประกอบด้วยหลายปัจจัย การจัดการตนเองของผู้ป่วยและการใส่ใจดูแลของสมาชิกในครอบครัวก็เป็นสิ่งสำคัญ การควบคุมอาหาร การควบคุมความดันโลหิตและการรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อชะลอการเสื่อมของไตและคงไว้ซึ่งการทำหน้าที่ของไตให้ยาวนานที่สุด นอกจากนั้นแล้วการออกกำลังกายของผู้ป่วยก็เป็นปัจจัยที่สำคัญอีกประการ บทความนี้นำเสนอการออกกลังกายเพื่อชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ซึ่งพบว่าผู้ป่วยสามารถดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายได้ในระดับที่แตกต่างกันไปตามระดับการดำเนินของโรค กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมได้แก่ แอโรบิกในน้ำ แอโรบิกทั่วไปที่ความเสียดทานต่ำ เช่น การเดิน การวิ่งช้าๆ การก้าวขึ้นลงบันได การทำสวน การเต้นรำเข้าจังหวะ การปั่นจักรยาน และการเดินหรือวิ่งบนลู่วิ่งแบบความเสียดทานต่ำ ซึ่งจะส่งผลตีต่อผู้ป่วยทั้งในด้านลดความเครียด เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อส่วนบนของแขนและขา โครงสร้างของเส้นเลือดฝอยดีขึ้น แต่จะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาลที่เชี่ยวชาญ เพื่อการประเมินความเสี่ยงต่อการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในแต่ละราย

Exercise for slow progression in patients with kidney disease

Chronic kidney disease is a global health problem, Including in Thailand. This is a major risk factor for cardiovascular disease and can lead to disease progression to chronic renal failure. The guidelines for the care of patients with chronic kidney is also important are the self-management of the patient and the care of family members to encourage patients to modify their lifestyle, diet control, blood pressure control and medication control. In addition, the exercise of the patient is another important factor. This article presents exercise for slow progression in a patient with kidney disease. It was found that patients were able to perform different exercise activities at different levels of disease progression. Proper exercise includes Aerobics in water, general aerobics, low friction and walking or running on a low friction treadmill. The exercise is the effect that hit the patient in terms of reducing stress. Strengthen upper arm and leg muscles. The structure of the capillaries improved. However, it must be under the supervision of medical personnel and skilled nursing staff for assessing the risk of exercise in patients with chronic renal failure in each patient.

 

Author Biography

ลักขนา ชอบเสียง, Boromarajonani College of Nursing Sanpasithiprasong

ลักขนา ชอบเสียง. (2558). การจัดการตนเองและครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา,  16(3), 2-12.

สุภารัตน์ พิสัยพันธุ์, อรุณศรี ผลเพิ่ม, ญาณี แสงสาย, ลักขนา ชอบเสียง. 2557. Nursing Student’s Experience in Caring For Dying Patienis . เอกสารสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) Nakhon Phanom

                     National and International Conference in Healthcare (NPNICH) 1st ณ Nakhon Phanom University, Thailand July 7 -10 , 2014 Page 68 – 77.

จรูญศรี มีหนองหว้า, สุภารัตน์ พิสัยพันธุ์, ลักขนา ชอบเสียง, จตุพร จันทะพฤกษ์, ภควรรณ ตลอดพงษ์, ไวยพร พรมวงศ์. 2557. การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้แบบบันทึกการสะท้อนคิดในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลสาหรับ

                      บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 และ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพ สิทธิประสงค์. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมใหญ่และนาเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ

                      เรื่อง สห วิทยาการ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสู่ ประชาคมอาเซียน multidisciplinary on cultural Diversity Towards the ASEAN Community ระหว่างวันที่ 17-18 กรกฎาคม 2557

                       หน้า 1511-1512 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ อ.เมือง จ.ตรัง.

จรูญศรี มีหนองหว้า(Jaroonsree Meenongwah), ดร.พรรณทิพา แก้วมาตย์(Puntipa Kaewmataya), เยาวเรศ ประภาษานนท์(Yaowaret Prapasanon), อุดมวรรณ วันศรี(Udomwan Wansri),

                      ไวยพร พรมวงศ์(Waiyaporn Promwong), ลักขนา ชอบเสียง (Lukana Chopsiang), กุลธิดา กุลประฑีปัญญา(Kulthida Kulprateepanya). 2557. The Study of Needs of Knowledge Related

                       to Food and Nutrition Resources of Community in Thailand: A Case Study of Ubon Ratchathani Province. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ในการประชุมวิชาการระดับชาติ

                       และนานาชาติ 18th World Congress on Clinical Nutrition (WCCN) "Agriculture, Food and Nutrition for Health and Wellness" Ubon Ratchathani, Thailand, December 1-3, 2014.

พรรณทิพา แก้วมาตย์, กุลธิดา กุลประฑีปัญญา, จรูญศรี มีหนองหว้า, ลักขนา ชอบเสียง, ภาวิณี แววดี, การประเมินผลการดำเนินเครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System) เครือข่ายบริการสุขภาพที่

                        10. นำเสนอโปสเตอร์  ในการประชุมวิชาการนานาชาติ The 6th International Conference on Public Health among the Greater Mekong Sub-Regional Countries

                         (6th ICPH-GMS: 2014) ระหว่างวันที่ 6-7 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมเซ็นทารา แอนด์คอนเวนชั่นขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น (คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 

สุนันท์  แมนเมือง, ลักขนา ชอบเสียง, ชุลีพร  ตวนกู. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี, วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2550;1(2) : 174-181.

                   (ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ก.ค. – ก.ย. (ฉบับเสริม 1))

References

ประเสริฐ ธนกิจจารุ. (2558). สถานการณ์ปัจจุบันของโรคไตเรื้อรังในประเทศไทย.วารสารการแพทย์,
ฉบับเดือนกันยายน-ตุลาคม, 5-17.
ลักขนา ชอบเสียง (2558). การจัดการตนเองและครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. วารสารการพยาบาลการ
สาธารณสุขและการศึกษา, 16(3). 2-12.
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2560). คำแนะนำสำหรับการดูแลรักษาโรคไตเรื้อรังแบบองค์รวมชนิด
ประคับประคอง พ.ศ. 2560.
Danielle L, Shannon Lennon and David G. (2014).The Importance of Exercise for Chronic Kidney.Disease
Patients Journal of Renal Nutrition, 24, 51-53.
Grey M, Schulman-Green D, Knafl K and Reynolds NR.(2015). A revised self-and family management
framework. Nurse Outlook, 63, 162-170.
Marquis Hawkins (2010).The relationship between physical activity and kidney function/chronic kidney disease.The Graduate Faculty of Graduate School of Public Health in partial fulfillment of the requirements for the degree of Doctor of Philosophy, University of Pittsburgh, 94-95.
Rita Huie(2017).Exercise Guidelines for CKD Patients. JOJ uro& nephron, Department of Nutrition and
Food Services, Central Arkansas Veterans Healthcare Systems, USA.
Renal Services Information for Patients (2009). Exercise for Kidney Patients, University Hospitals of
Leicester.
Yoshiyuki Morishita and Daisuke Nagata (2015).Strategies to improve physical activity by exercise
training in patients with chronic kidney disease. International Journal of Nephrology and Renovascular Disease, 19-24.

Downloads

Published

2018-12-25

How to Cite

ชอบเสียง ล. (2018). Exercise for slow progression in patients with kidney disease. Journal of Nursing and Health Research, 19(3), 25–35. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/124941