ประสิทธิผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ ทัศนคติและทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี The Effectiveness of Supportive-Educative Program on Knowledge, Attitude, and Skill of Self Breast Examination among Women

Authors

  • จันทร์จิรา สีสว่าง ภาควิชาการพยาบาลเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี
  • ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ

Keywords:

โปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง มะเร็งเต้านม Supportive-educative program, Self breast examination, Breast cancer

Abstract

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัย กึ่งทดลอง เปรียบเทียบความรู้ทัศนคติและทกั ษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุน และให้ความรู้กับกลุ่มที่ได้รับการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยใช้ซีดีหลังการสอน 1 เดือน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เป็นกลุ่มควบคุม 15 คน และกลุ่มทดลอง 15 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมโดยตนเอง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.71 โดยใช้ Kuder Richardson formula 20 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และแบบประเมินความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.69 และ 0.68 ตามลำดับ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha) และตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อ หาโดยผู้ เชี่ยวชาญ 3 ท่าน วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้สถิติร้อยละค่าเฉลี่ย และ t-testผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ย ความรู้ค่าเฉลี่ย ทัศนคติและคะแนนทกั ษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่ม ทดลองมีความรู้และทัศนคติในการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้น มากกว่ากลุ่ม ควบคุมหลังทดลอง1 เดือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่คะแนนทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองหลังทดลอง 1 เดือนเพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05โดยสรุป โปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้มีประโยชน์ในการส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง จึงควรมีการจัดกิจกรรมในการให้ความรู้ และการฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเสี่ยงอื่น ๆ ต่อไป โดยใช้สื่อที่หลากหลาย

Abstract
The purposes of this quasi - experimental research were to compare about the knowledge,attitude and skill of self breast examination (SBE) among women who were trained by educative support program and those by CD, one month after the supportive-educative program. Samples were selected
by convenience sampling in one experimental group and one control group, 15 in each group.Questionnaires of knowledge for SBE was test the reliability was 0.71 testing by Kuder Richardson formula 20, Attitude for SBE and skill were tested the reliability was 0.69 and 0.68 using Cronbach’s
alpha coefficient and were checked the validity by 3 experts. The data were analyzed using percentage, mean, and t-test.The major finding showed that the mean scores of SBE knowledge, attitude and skill between
the experimental and the control group before experiment were not statistically different (p < .05). However, after experiment, the experimental group gained SBE knowledge and attitude significantly
higher than the control group at .05. Nevertheless, the scores of SBE skill after experiment were not differ significantly increased at .05.In conclusion, the results supported the benefit of the supportive-educative program. It is suggested that be implemented in particular for high risk groups of women using various media.

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

18-05-2013

How to Cite

1.
สีสว่าง จ, ส่งวัฒนายุทธ ป. ประสิทธิผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ ทัศนคติและทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี The Effectiveness of Supportive-Educative Program on Knowledge, Attitude, and Skill of Self Breast Examination among Women. J Royal Thai Army Nurses [Internet]. 2013 May 18 [cited 2024 Dec. 19];14(1):17-24. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/5547