Depression and Its Predictors among Nursing Students in Four Countries: USA, Thailand, Taiwan and Japan ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้ำของนักศึกษำพยำบำลศำสตร์ในประเทศ สหรัฐอเมริกำ ไทย ไต้หวัน และญี่ปุ่น

Authors

  • Ratchneewan Ross College of Nursing, Kent State University
  • Linda Wolf School of Nursing, Cleveland State University
  • Lenny Chiang-Hanisko Christine E. Lynn College of Nursing, Florida Atlantic University
  • Takamasa Tanaka Saku University
  • Keiko Takeo Saku University
  • Puangrat Boonyanurak Burapha University
  • Saisamorn Chaleoykitti The Royal Thai Army Nursing College
  • Pimpanitta Saenyakul College of Nursing, Kent State University

Keywords:

nursing students, stress, self-esteem, social support, depression, multiple regression, นักศึกษาพยาบาลศาสตร์, ความเครียด, การสนับสนุนทางสังคม, การมีคุณค่าในตนเอง, ภาวะซึมเศร้า, การวิเคราะห์สถิติถดถอยพหุคูณ

Abstract

This cross-sectional, correlational study examined the differences of depression scores between nursing students in the USA, Thailand, Taiwan, and Japan and predictors of depression in each country. A questionnaire packet was administered at seven nursing schools in the USA, Thailand, Taiwan, and Japan. Participants included 939 junior and senior undergraduate nursing students: 210 US, 156 Thai, 200 Taiwanese, and 373 Japanese. Results showed that depression scores among nursing students in four countries were statistically different (F = 5.96, df = 935, p<.001). Bonferroni post-hoc analysis indicated that US students had higher depression scores than Asian students. No score differences were detected among nursing students between the three Asian countries. Results from multiple regression show that stress predicted depression in nursing students in all countries. Self-esteem predicted depression in the USA and Thailand. Friend support predicted depression in Taiwan and Japan. Programs that may help decrease stress and increase self-esteem and friend support should be established for nursing students in these four countries, based on results from this study.

การวิจัยหาความสัมพันธ์ ณ ช่วงเวลาหนึ่งครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกาไทยไต้หวัน และญี่ปุ่น และหาตัวทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาฯ แต่ละประเทศ โดย ใช้แบบวัดภาวะซึมเศร้า (CES-D) แบบสอบการรับรู้ความเครียด (PSQ) แบบวัดการมีคุณค่าในตนเอง (R -SE) และแบบวัดการได้รับการสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) (ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคระหว่าง .82 ถึง .93) เก็บข้อมูลระหว่าง ปี 2551 และ 2553 จากนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ปี 3 และปี 4 ในวิทยาลัยพยาบาล 7 แห่ง ของประเทศสหรัฐอเมริกา 209 คน ประเทศไทย 156 คน ไต้หวัน 200 คน และ ญี่ปุ่น 372 คน รวมทั้งสิ้น 937 คน ผลการวิจัยพบว่าภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาฯ ทั้งสี่ประเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F = 5.96, df = 935, p<.001) Bonferoni post-hoc ชี้ให้เห็นว่านักศึกษาฯ จากประเทศสหรัฐอเมริกามีภาวะซึมเศร้าสูงกว่านักศึกษาฯ เอเชีย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาฯ เอเชียไม่มีความแตกต่างเมื่อวิเคราะห์สถิติถดถอยพหุคูณพบว่าความเครียดเป็นตัวทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาฯ ทั้งสี่ประเทศ (βs = .40 - .59, p<.001) การมีคุณค่าในตนเองสามารถทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาฯ อเมริกาและไทย (βs = .24, .39, p<.001) ในขณะที่การสนับสนุนทางอารมณ์จากเพื่อนเป็นตัวทำนายภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาลไต้หวันและญี่ปุ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (βs = .23, .15, p<.05)  ผลจากการศึกษา ควรมีการจัดโปรแกรมเพื่อลดระดับความเครียด แต่เพิ่มการมีคุณค่าในตนเอง และสนับสนุนให้มีการช่วยเหลือจากเพื่อนเพื่อละภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ต่อไป

Downloads

How to Cite

1.
Ross R, Wolf L, Chiang-Hanisko L, Tanaka T, Takeo K, Boonyanurak P, Chaleoykitti S, Saenyakul P. Depression and Its Predictors among Nursing Students in Four Countries: USA, Thailand, Taiwan and Japan ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้ำของนักศึกษำพยำบำลศำสตร์ในประเทศ สหรัฐอเมริกำ ไทย ไต้หวัน และญี่ปุ่น. J Royal Thai Army Nurses [Internet]. 2015 Feb. 4 [cited 2024 Nov. 21];15(3):195-201. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30486