Self-love: A Strategy to Unlock Self towards Recovery from Depression in Middle-Aged Women

Authors

  • Pissamorn Dechduang Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi https://orcid.org/0000-0003-3661-7849
  • Somporn Rungreangkulkij Faculty of Nursing, Khon Kaen University
  • Darunee Jongudomkarn Faculty of Nursing, Khon Kaen University

Keywords:

self-love, recovery from depression, middle-aged women

Abstract

This was grounded theory research, which aimed to study the recovery process from depression from 26 women, aged 40-60years, living in Chonburi Province and having depression diagnosed by psychiatrists. Twenty-one people entered the recovery phase diagnosed by psychiatrists while five of them perceived by themselves. Data were collected by in-depth interviews, observation guideline and field notes informants and analyzed by comparative analysis.

The results showed that the recovery process from depression consisted of 3 phrases: phrases 1 loss and pain, phrases 2 having depression and seeking ways to unlock one’s self and phrases 3 regaining peace of mind. In the second phrase, the core category was found. It was “self-love”, which helped unlock one’s self from the suffering caused by focusing on others until neglecting self- care. Pulling one’s self out of sorrow can be done through the following important steps, namely: 1) throwing away things that cling to the mind - quitting suffering 2) analyzing the causes of suffering - building energy; 3) determining a new path - standing up and living with self-love and 4) creating own meaning to continue living. As a result, women recognized that their identity had returned and recognized their self-esteem. Healthcare providers should be encouraged to have self-love to promote recovery from depression.

Author Biographies

Pissamorn Dechduang, Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi

ประวัติและผลงานของผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล ....นางสาวพิศสมร เดชดวง……………………………………………………………..……

สถานที่ปฏิบัติงานปัจจุบัน ……วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี……………………….…………………

สถานที่ติดต่อได้สะดวก …วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี 203 หมู่ 2 ตำบลธงชัย อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี  เบอร์โทรศัพท์…032-427049 ต่อ 3405 เบอร์มือถือ 082 464 4922

E-mail…………………………[email protected]…………………………………………………………….……….

วุฒิการศึกษา

ระดับการศึกษา

วุฒิการศึกษา/สาขา

สถาบัน

ปี พ.ศ.

ระดับปริญญาโท

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต

(สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2546

ระดับปริญญาตรี

พยาบาลศาสตรบัณฑิต

วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี

2540

 

ผลงานวิจัย

หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. พิศสมร เดชดวง ผลการใช้โปรแกรมเตรียมความพร้อมต่อความวิตกกังวลก่อนการฝึกภาคปฏิบัติวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่3 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2547
  2. พิศสมร เดชดวง, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท พ.ศ.2550
3.    พิศสมร เดชดวง, การวิเคราะห์ตัวแปรจำแนกกลุ่มที่สนใจเลือกเรียนและไม่สนใจเลือกเรียนวิชาชีพพยาบาลของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2550 4.    พิศสมร เดชดวง, ผลการใช้โปรแกรมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท พ.ศ.2551
  1. พิศสมร เดชดวง, เสริมศักดิ์ นวลจันทร์, ขวัญตา เอกบุตร, สุขภาวะของประชาชนในเขตเมือง จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2552
  2. พิศสมร เดชดวง และคณะ, ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อความรู้ การปฏิบัติตนและการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2554
  3. พิศสมร เดชดวง, สรัลรัตน์ พลอินทร์, ขวัญตา เอกบุตร, พฤติกรรมสุขภาพและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้ใหญ่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2554
8.    พิศสมร เดชดวง, ความต้องการที่จำเป็น และความพึงพอใจต่อการให้บริการตามความต้องการที่จำเป็นของนักศึกษาและศิษย์เก่าวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2554 9.    พิศสมร เดชดวง, มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษาพยาบาลและศิษย์เก่าวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2555
  1. การศึกษาผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ของวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2558

ผู้ร่วมโครงการวิจัย

  1. ชลลดา คล้ายคลึง, พิศสมร เดชดวง,และคณะ การพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการของอาจารย์วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2553
  2. ชลลดา คล้ายคลึง, สถาพร แถวจันทึก, พิศสมร เดชดวง, เพ็ญแข พินิจ, พ.จ.อ.เผ่า อนันจิ๋ว, ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ความคาดหวัง และความวิตกกังวล ต่อการปรับตัวของนักศึกษา ตามโครงการผลิตพยาบาลวิชาชีพเพิ่ม เพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี   พ.ศ.2553
  3. ขวัญตา กลิ่นหอม, วิไลวรรณ มุสิกเจียรนันท์, พิศสมร เดชดวง ผลการฟื้นฟูสภาพที่บ้านต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, พ.ศ.2554
  4. นงณภัทร รุ่งเนย, จันทร์จิรา สีสว่าง, พิศสมร เดชดวง, ขวัญตา กลิ่นหอม, ชนาภา สมใจ, การพัฒนาทักษะการจัดการความรู้และความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล, พ.ศ.2554
  5. กฤษณา หงษ์ทอง, ณัฐพร อุทัยธรรม, นงณภัทร รุ่งเนย, จันทร์จิรา สีสว่าง, พิศสมร เดชดวง, เพ็ญแข ดิษฐบรรจง, ดวงหทัย ยอดทอง, สถาพร แถวจันทึก, การพัฒนานักศึกษาพยาบาลเพื่อเตรียมสอบขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและปัจจัยแห่งความสำเร็จ : กรณีศึกษา, พ.ศ.2554
  6. ขวัญตา กลิ่นหอม, วิไลวรรณ มุสิกเจียรนันท์, พิศสมร เดชดวง ผลของวิธีการจัดการความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง, พ.ศ.2556

ประวัติการตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานวิจัย (ระบุแหล่ง/ปีที่เผยแพร่ )

  1. พิศสมร เดชดวง. (2551).  ผลการใช้โปรแกรมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท.  วารสารการพยาบาลและการสาธารณสุขวิทยาลัยเครือข่ายภาคกลาง 2, 5(2), 73-81.
  2. พิศสมร เดชดวง, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท นำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2551 เรื่อง“การปฏิบัติสู่นวัตกรรมและการวิจัย” จ.เชียงใหม่ วันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ.2551
  3. พิศสมร เดชดวง, การวิเคราะห์ตัวแปรจำแนกกลุ่มที่สนใจเลือกเรียนและไม่สนใจเลือกเรียนวิชาชีพพยาบาลของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดเพชรบุรี นำเสนอแบบโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2551 เรื่อง“การปฏิบัติสู่นวัตกรรมและการวิจัย” จ.เชียงใหม่ วันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ.2551
  4. พิศสมร เดชดวง, ผลการใช้โปรแกรมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท วารสารการพยาบาลและการสาธารณสุขวิทยาลัยเครือข่ายภาคกลาง 2, 5(2), 73-81. และนำเสนอแบบโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2551 เรื่อง“การปฏิบัติสู่นวัตกรรมและการวิจัย” จ.เชียงใหม่ วันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ.2551
  5. พิศสมร เดชดวง, ความต้องการที่จำเป็น และความพึงพอใจต่อการให้บริการตามความต้องการที่จำเป็นของนักศึกษาและศิษย์เก่าวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, นำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ประจำปี 2556 เรื่อง การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ทุกช่วงวัยโดยบูรณาการสหวิชาชีพ : มุมมองด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สุขภาพและการพยาบาล มหาวิยาลัยราชภัฎลำปาง วันที่ 23-24 ธันวาคม 2556.
  6. พิศสมร เดชดวง, มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษาพยาบาลและศิษย์เก่าวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, นำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ประจำปี 2556 เรื่อง การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ทุกช่วงวัยโดยบูรณาการสหวิชาชีพ : มุมมองด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สุขภาพและการพยาบาล มหาวิยาลัยราชภัฎลำปาง วันที่ 23-24 ธันวาคม 2556.
  7. Pissamorn Dechduang, Health Status of Urban People in Phetchaburi Province, Thailand. Oral Presentation, 3rd International Conference Health and the Changing World, 17 - 19 November 2009 at Sheraton Mustika Hotel Yogyakarta Indonesia.
  8. พิศสมร เดชดวง, ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อความรู้ การปฏิบัติตนและการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานในจังหวัดเพชรบุรี, วารสารพยาบาล, 62(1), 51-58.
  9. Pissamorn Dechduang, Sarunrattana Polin, And Pakaporn Klinhom. Health Behaviors and Factors That Influence the Incidence Chronic Disease in the Elderly People at Risk for Chronic Disease in Phetchaburi Province, Thailand. Poster Presentation. The 2014 Asian Conference on Education for Sustainability (ACES 2014), 2-4 August, 2014 at The Mitsui Garden in Hiroshima, Japan.
  10. Churairat Duangchan, Pissamorn Dechduang, and Yaowaluck Meebunmak. Knowledge. Management Implementation in Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi Province, Thailand.  2016 ANPOR Annual Conference “Bridging Experience and Prognosis: The Future of a Public Opinion Research Network”,  Battambang-Siem Reap, Cambodia, 8-12 November 2016.
  11. จุไรรัตน์ ดวงจันทร์, ดวงหทัย ยอดทอง และพิศสมร เดชดวง, (2561). ความชุกและปัจจัยทำนายภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดเพชรบุรี, วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 3(2), 133-148.

Somporn Rungreangkulkij, Faculty of Nursing, Khon Kaen University

 

 

Darunee Jongudomkarn, Faculty of Nursing, Khon Kaen University

 

 

References

World Health Organization. Depression and other common mental disorders: Global health estimates. Geneva: WHO Document Production Services; 2017.

American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorders: DSM-5™. 5th ed. American Psychiatric Publishing, Inc; 2013.

Teresa F, Bruno G. A brief psychotherapeutic intervention with depressed middle-aged portuguese women. Women & Therapy. 2012; 35:233-47.

Ministry of Public Health, Department of Mental Health. Guidebook of depressive disorders surveillance and care: Provincial Level. 3reved. Prasimahabhodi Psychiatric Hospital; 2014. (in Thai)

Ministry of Public Health, International Health Policy Program. Report on burden of disease and injury of Thai population year 2013. Nonthaburi: The Graffico systems; 2015. (in Thai)

Mahidol University, Ramathibodhi Hospital, Faculty of Medicine, Department of Psychiatry. Using DSM-5. In: Lortrakul M, Sukanicha P, editor. Ramathibodhi Psychiatry. 4th ed. Bangkok: Mahidol University, Faculty of Medicine; 2018. (in Thai)

Rungreangkulkij S. Depression in women. Continuing education in nursing, Vol. 15. Women’s Health Nursing. 2015;1(2):100-43. (in Thai)

Rungreangkulkij S, Chirawatkul S, Kongsuk T, Sukavaha S, Leejongpermpoon J, Sutatho Y. Sex or gender leading to a high risk of depressive disorder in women. J Psychiatr Assoc Thailand 2012;57(1):61-74. (in Thai)

Kheuankaew O. The changing way: gender and equity based on spiritual and learning with heart. Nakhon Pathom: Mahidol University; 2015. (in Thai)

Fullagar L, O’Brien S. Social recovery and the move beyond deficit models of depression: a feminist analysis of mid-life women’s self-care practices. Soc Sci Med. 2014;117: 116-24.

Aroonpongpaisal S, Wasiknanon S. Textbook of depressive disorders. Khon Kaen: Klungnanavitaya printery; 2015. (in Thai)

Chirawatkul S. Development of prevention and treatment system of depressive disorder for mental health policy with gender-sensitive. Research report. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2011. (in Thai)

Ministry of Public Health, Department of Mental Health. Clinical practice guideline of major depressive disorder for general practitioner: CPG-MDD-GP. rev ed 2020. Ubonratchathani: Prasimahabhodi Psychiatric Hospital; 2020. (in Thai)

Charmaz K. Constructing grounded theory. 2nded. London: SAGE; 2014.

Creswell JW. Qualitative inquiry & research design: choosing among the five approaches. Thousand Oaks, CA: SAGE Publications, Inc.; 2013.

Ross R, Stidham AW, Saenyakul P, Creswell JW. Intimate partner violence, emotional support and health outcomes among Thai women: a mixed methods study. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2021;16(1):22-32. (in Thai)

O’Brien W. The recovery imperative: A critical examination of mid-life women’s recovery and depression. Social Science and Medicine. 2012;75(3):573–80.

Rungreangkulkij S, Kotnara I, Rujiraprasert N, Khuandee N. Gender inequality identified as an underlying cause of depression in Thai women. Journal of International Women’s Studies, 2019; 20(7):395-408.

Lakthong S, Chaimongkol N. Restoring Life Period: The experience of recovery as told by drug-treated male youth. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2021;22(1):370-9. (in Thai)

Downloads

Published

02-01-2023

How to Cite

1.
Dechduang P, Rungreangkulkij S, Jongudomkarn D. Self-love: A Strategy to Unlock Self towards Recovery from Depression in Middle-Aged Women. J Royal Thai Army Nurses [Internet]. 2023 Jan. 2 [cited 2024 Mar. 29];23(3):418-27. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/251432

Issue

Section

Research Articles