การศึกษาระดับโปรตีนในซีรัมของผู้บริจาคพลาสมา
Keywords:
Serum protein, Albumin, Plasmapheresis donorsAbstract
บทคัดย่อ
คณะ ผู้ วิจัย ได้ ทำ การ ศึกษา ย้อน หลัง ใน ผู้ บริจาค พลาสมา ที่ หน่วย Hemapheresis ฝ่าย ห้อง ปฏิบัติ การ ร่วม กับ องค์การ
อนามัย โลก ศูนย์ บริการ โลหิต แห่ง ชาติ สภา กาชาด ไทย ตั้งแต่ เดือน มกราคมพ.ศ.2543 ถึง เดือน ธันวาคมพ.ศ.2547 โดย มี จำนวน ผู้
บริจาค ที่ ทำ การ ศึกษา ทั้ง หมด 314 ราย ผู้ บริจาค ทุก ราย มี น้ำหนัก มาก กว่า 50 กิโลกรัม ขึ้น ไป และ บริจาค พลาสมา ครั้ง ละ 500 มล. โดย
ได้ ตรวจ หา ค่า ระดับ โปรตีน รวม ใน เลือด ก่อน เข้า เครื่อง รับ บริจาค ใน ครั้ง แรก ที่ เริ่ม เข้า โครงการ บริจาค พลาสมา และ ทุก 6 เดือน ตลอด ระยะ
เวลา ของ การ บริจาค อย่าง ต่อ เนื่อง ใน ช่วง เวลา 42 เดือน โดย จะ เก็บ ตัวอย่าง เลือด ส่ง ตรวจ ก่อน เข้า เครื่อง รับ บริจาค ผู้ บริจาค ทุก ราย ที่ เข้า
ร่วม โครงการ จะ ได้รับ คำ แนะนำ ใน เรื่อง การ รับประทาน อาหาร ที่ มี โปรตีน สูง ตั้งแต่ เริ่ม เข้า โครงการ และ จะ ต้อง มี การ ติด ตาม ผล การ ตรวจ
โปรตีน ใน เลือด ทุก 6 เดือน ตลอด ระยะ เวลา ที่ เข้า ร่วม โครงการ บริจาค พลาสมา และ ได้ ทำ การ แบ่ง กลุ่ม ผู้ บริจาค ใน ช่วง เวลา ที่ ทำ การ ศึกษา
ออก เป็น 3 กลุ่ม ตาม ความ ถี่ ของ การ บริจาค ดังนี้ กลุ่ม ที่ หนึ่ง เป็น ผู้ ที่มา บริจาค พลาสมา สม่ำเสมอ 2 ครั้ง ต่อ เดือน จำนวน 13 ราย กลุ่ม ที่
สอง เป็น ผู้ ที่มา บริจาค 1 ครั้ง ต่อ เดือน จำนวน 113 ราย กลุ่ม ที่ สาม เป็น ผู้ ที่มา บริจาค 1 ครั้ง ต่อ 2 เดือน จำนวน 188 ราย พบ ว่า ระดับ
โปรตีน และ แอลบูมินใน ซีรั่มใน ผู้ บริจาค พลาสมา ทุก ราย มี ค่า ไม่ แตก ต่าง จาก ค่า ปกติ และ ไม่ พบ ความ แตก ต่าง ของ ค่าเฉลี่ย ของ โปรตีน
และ แอลบูมินใน ซีรั่มใน ผู้ บริจาค พลาสมา ระหว่าง กลุ่ม ทั้ง 3 กลุ่ม เมื่อ เปรียบ เทียบ ระดับ โปรตีน และ แอลบูมินใน ซีรั่มของ แต่ ละ ช่วง เวลา
กับ ก่อน การ บริจาค ครั้ง แรก พบ ว่า มี แนว โน้ม ลดลง ใน ผู้ บริจาค ทั้ง 3 กลุ่ม แต่ เมื่อ มี การ กระตุ้น เตือน ผู้ บริจาค ใน เรื่อง ของ การ รับประทาน
อาหาร ที่ มี โปรตีน สูง จึง ทำให้ ระดับ ของ โปรตีน ใน ซีรั่มเพิ่ม ขึ้น โดย ไม่ แตก ต่าง จาก ก่อน การ บริจาค ครั้ง แรก อย่าง มี นัย สำคัญ (p > 0.05)
ใน ขณะ ที่ ระดับ ของ แอลบูมินใน ซีรั่มของ ผู้ บริจาค พลาสมา โดย เฉพาะ ใน กลุ่ม ที่ 2 และ 3 จะ มี ค่า สูง ขึ้น กว่า การ บริจาค ครั้ง แรก อย่าง มี นัย
สำคัญ (p < 0.05) นอก จาก นี้ เมื่อ วิเคราะห์ ค่า โปรตีน และ แอลบูมินใน ซีรั่มของ ผู้ บริจาค แต่ ละ กลุ่ม ใน แต่ ละ อาชีพ ก็ ไม่ มี ความ แตก ต่าง
อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p > 0.05) โดย สรุป ผู้ บริจาค โลหิต ที่ บริจาค พลาสมาสม่ำเสมอไม่ เกิน 12 ลิตร ต่อ ปี สามารถ บริจาค ได้ โดย จะ
พบ ว่า ระดับ ของ โปรตีน และ แอลบูมินใน ซีรั่มมี แนว โน้ม ที่ จะ ลดลง แต่ จะ ไม่ ต่ำ กว่า ค่า ปกติ ทั้ง นี้ เจ้าหน้าที่ ผู้ ควบคุม ดูแล การ บริจาค จะ ต้อง
ให้ ความ สนใจ ต่อ การ ตรวจ วัด ระดับ โปรตีน รวม ใน ซีรั่มของ ผู้ บริจาค พร้อม กับ ให้ คำ แนะนำ และ เน้น ให้ เห็น ถึง ความ สำคัญ ใน เรื่อง ของ
อาหาร และ ยา ธาตุ เหล็ก ให้ กับ ผู้ บริจาค ที่มา บริจาค ประจำ เพื่อ เพิ่ม ความ ปลอดภัย ให้ กับ ผู้ บริจาค โลหิต ใน การ ทำ long-term plasmapheresis