ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี ตับอักเสบ บี และ ซี ในผู้บริจาคโลหิตครั้งแรกของโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดตาก ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2548
Keywords:
HIV, Hepatitis B, Hepatitis C, Syphilis, Blood donorsAbstract
บทคัดย่อ
การ จัดหา โลหิต ที่ ปลอดภัย จาก เชื้อ ติด ต่อ ทาง เลือด ประกอบ ด้วย การ คัด กรอง ผู้ บริจาค โลหิต และ การ ตรวจ กรอง หา การ ติดเชื้อ ใน
โลหิต ที่ ได้รับ บริจาค การ ศึกษา นี้ มี วัตถุประสงค์ เพื่อ วิเคราะห์ ความ ชุก ของ การ ติดเชื้อ เอชไอ วี ตับ อักเสบบี และ ซี ใน ผู้ บริจาค โลหิต ครั้ง แรก ของ
โรงพยาบาล สมเด็จ พระเจ้า ตาก สิน มหาราช จังหวัด ตาก ระหว่าง ปีพ.ศ. 2544 ถึง 2548 ผล การ ศึกษา พบ ว่า ผู้ บริจาค โลหิต ครั้ง แรก ใน ระยะ เวลา
5 ปี จำนวน 4,371 ราย เป็น เพศ ชาย ร้อยละ 59 และ เพศ หญิง ร้อยละ 41 ช่วง อายุ 17 - 20 ปี ร้อยละ 58 พบ ความ ชุก ของ การ ติดเชื้อ เอชไอ วี
จากการ ตรวจ anti-HIV และ HIV antigen ร้อยละ 0.37 ไวรัส ตับ อัก เสบบีโดย ตรวจ หา HBsAg ร้อยละ 7.08 ไวรัส ตับ อักเสบ ซี จาก การ
ตรวจ anti-HCV ร้อยละ 0.61 และ ซิฟิลิส ด้วย การ ตรวจ RPR ร้อยละ 0.05 เมื่อ เปรียบ เทียบ อัตรา การ ติดเชื้อ ใน แต่ ละ ปี พบ ว่า ความ ชุก ของ
การ ติดเชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบบี สูง ร้อยละ 9.55 ใน ปี 2545 ต่าง จาก ปี อื่น อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p = 0.003) ไม่ พบ ความ แตก ต่าง ระหว่าง ปี สำหรับ
อัตรา การ ติดเชื้อ เอชไอ วี ไวรัส ตับ อักเสบ ซี และ ซิฟิลิส เพศ ชาย ติดเชื้อ ทุก ชนิด สูง กว่า เพศ หญิง แต่ มี ความ แตก ต่าง อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ
(p<0.05) เฉพาะ การ ตรวจ พบ HBsAg เท่านั้น การ วิเคราะห์ เปรียบ เทียบ ระหว่าง กลุ่ม อายุ พบ ว่า ความ ชุก ของ การ ติดเชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบ ซี มี
ความ แตก ต่าง ระหว่าง กลุ่ม อายุ อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ (p<0.05) โดย พบ ต่ำ สุด ใน กลุ่ม ช่วง อายุ 17-20 ปี และ สูงสุด ใน กลุ่ม อายุ 51-60 ปี ใน
ขณะ ที่ ไม่ พบ ความ แตก ต่าง อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ ( p > 0.05) ใน การ ติดเชื้อ ชนิด อื่น ที่ สัมพันธ์ กับ ช่วง อายุ ผล การ ศึกษา ครั้ง นี้ แสดง ให้ เห็น ว่า
โรคติดเชื้อ จาก เอชไอ วี ไวรัส ตับ อัก เสบบี ไวรัส ตับ อักเสบ ซี ยัง เป็น ปัญหา ใน ประชากร ไทย หน่วยงาน ที่ เกี่ยวข้อง รวม ทั้ง คลัง เลือด ควร ให้ ความ รู้
แก่ ประชากร เกี่ยว กับ โรค ติดเชื้อ ดัง กล่าว ใน ด้าน การ ป้องกัน การ แพร่ เชื้อ ทั้ง ทาง เลือด และ เพศ สัมพันธ์ และ ให้ การ ดูแล สุขภาพ ใน ผู้ ติดเชื้อ ตลอด
จน จัด บริการ ให้ คำ ปรึกษา การ ประเมิน ตน เอง เกี่ยว กับ ความ เสี่ยง ของ การ ติดเชื้อ ติด ต่อ ทาง เลือด ใน กระบวน การ คัด กรอง ก่อน บริจาค โลหิต การ
ติด ตาม ผู้ บริจาค โลหิต ที่ ติดเชื้อ เพื่อให้คำ แนะนำ ใน การ ดูแล สุขภาพ นอก จาก นี้ คลัง เลือด ต้อง มี กระบวน การ จัดการ ข้อมูล ที่ มี ประสิทธิภาพ เพื่อ
ป้องกัน การ บริจาค ซ้ำ ใน ผู้ ที่ เคย ตรวจ พบ การ ติดเชื้อ มา ก่อน