ผลการเสริมธาตุเหล็กในผู้บริจาคโลหิตหญิงที่บริจาคประจำ ณ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย
Keywords:
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก, ฮีโมโกลบิน, การรักษาด้วยการเสริมธาตุเหล็ก, Iron deficiency anemia, Hemoglobin, Therapeutic trialAbstract
บท คัด ย่อ :
การ บริจาค โลหิต บ่อย ครั้ง เป็น ปัจจัย เสี่ยง ของ ภาวะ โลหิต จาง จาก การ ขาด ธาตุ เหล็ก (Iron deficiency anemia) โดย เฉพาะใน ผู้ บริจาค หญิง จะ เสี่ยง มาก กว่า ผู้ชาย การ ให้ ธาตุ เหล็ก ทดแทน อาจ ทำให้ ผู้ บริจาค โลหิต มี ระดับฮีโมโกลบิน ดีขึ้น วัตถุประสงค์ : การศึกษา ครั้ง นี้ เพื่อ ทดสอบ ผล ของ การ เสริม ด้วยเฟอรัสซัลเฟต ( ธาตุ เหล็ก 65 มิลลิกรัม) วัน ละ 1 เม็ด ทุก วัน เป็น เวลา 1 เดือน แก่ ผู้ บริจาคโลหิต หญิง และ ประเมิน ประสิทธิภาพ การ ตรวจ วัด ค่าฮีโมโกลบิน (Hb) ด้วย เครื่อง HemoCue เทียบ กับ เครื่อง นับ เม็ด เลือด อัตโนมัติ (electronic cell counter) วิธีการ : แบ่ง ผู้ บริจาค โลหิต เป็น 2 กลุ่ม ตาม ความ สมัคร ใจ คือ กลุ่ม ที่ รับประทาน ธาตุ เหล็ก และ กลุ่ม ที่ ไม่รับประทาน ธาตุ เหล็ก เมื่อ บริจาค โลหิต เสร็จ แล้ว จะ ทำ การ เก็บ ตัวอย่าง เลือด เพื่อ วัด ค่าฮีโมโกลบิน (Hb), ขนาด เฉลี่ย ของ เม็ด เลือด แดง (MCV) และ ปริ มาณ เฉ ลี่ยฮีโมโกลบิน ใน เม็ด เลือด แดง (MCH) แล้ว ติด ตาม ผู้ บริจาค เหล่า นี้ ใน การ บริจาค ครั้ง ถัดไป หลัง จาก นั้น 3 เดือน ผลการศึกษา : ได้ อาสา สมัคร กลุ่ม รับประทาน ยา ธาตุ เหล็กเฟอรัสซัลเฟต 200 คน และ ไม่ รับประทาน ธาตุ เหล็ก 200 คน โดย มี ค่าเฉลี่ย Hb ของ ผู้ บริจาค โลหิต เป็น 11.9± 0.9 กรัม/ เดซิลิตร (g/dL) และ 11.9± 0.8 g/dL ตาม ลำดับ หลัง จาก นั้น 3 เดือน ติด ตาม ผู้ บริจาคโลหิต ได้ 122 คน เป็น กลุ่ม ที่ รับประทาน ธาตุ เหล็ก 62 คน มี ผล เลือด หลัง การ เสริม ธาตุ เหล็ก เพิ่ม ขึ้น อย่าง มี นัยสำคัญ โดย มี ค่า Hb เพิ่มจาก 12.0±0.9 g/dL เป็น 13.1±1.0 g/dL และ ค่า MCV เพิ่ม ขึ้น จาก 87.6± 6.2เฟมโต ลิตร (fL) เป็น 88.6±6.5 fL ค่า MCH เฉลี่ย เพิ่มขึ้น จาก 26.7±2.6พิคโค กรัม (pg) เป็น 28.4± 2.5 pg ส่วน กลุ่ม ที่ ไม่ รับประทาน ธาตุ เหล็ก 60 คน มี ผล Hb เพิ่ม ขึ้น อย่าง มี นัย สำคัญ
จาก 11.9±0.7 g/dL เป็น 12.4± 0.9 g/dL ส่วน ค่า MCV และ MCH แตก ต่าง อย่าง ไม่ มี นัย สำคัญ ค่า MCV จาก 86.6± 4.8 fL เป็น
87.0± 5.2 fL ค่า MCH จาก 28.0±2.8 pg เป็น 27.5±2.0 pg และ พบ ว่า ความ สัมพันธ์ ของ ค่า Hb ที่ วัด โดย เครื่อง HemoCue และ
เครื่อง นับ เม็ด เลือด อัตโนมัติ ( ใช้ เลือด จาก เส้น เลือด ดำ) มี ความ สัมพันธ์ เชิง เส้น ที่ ดี (r = 0.915, p < 0.01) สรุป : การ เสริม ธาตุ เหล็ก
ใน ผู้ บริจาค หญิง หลัง การ บริจาค โลหิต วัน ละ 1 เม็ด เป็น เวลา 30 วัน ทำให้ ผู้ บริจาค โลหิต มี คุณภาพ โลหิต ที่ ดี กว่า การ ไม่ รับประทาน ธาตุ
เหล็ก และ สามารถ ใช้ HemoCue ใน การ ตรวจ คัด กรอง ภาวะ โลหิต จาง เบื้องต้น แทน การ ตรวจ CBC ได้ ดี