ความวิตกกังวลของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นครั้งแรก Anxiety during ‘First Time’ Magnetic Resonance Imaging

Main Article Content

John Cable
Suparpit Maneesakorn von Bormann

บทคัดย่อ

การตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ Magnetic Resonance Imaging (MRI) เป็นวิธีการที่นิยมใช้มาก ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามผู้ป่วยหลายคนที่ได้รับการทำ MRI เป็นครั้งแรกอาจจะมีความรู้สึกกลัวและวิตกกังวล ส่งผลให้บางคนเคลื่อนไหวร่างกายไม่อยู่นิ่ง ทำให้ผลที่ได้ออกมาไม่สมบูรณ์ อาจทำให้ต้องเริ่มกระบวนการ MRI ใหม่อีกครั้ง ซึ่งก็จะส่งผลให้ผู้ป่วยรู้สึกวิตกกังวลเพิ่มขึ้นไปอีก ในวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง มีการกล่าวถึงความรู้สึกของผู้ป่วยที่ได้รับการทำ MRI เป็นครั้งแรกค่อนข้างน้อย ดังนั้นบทความนี้จึงแสดงถึงผลด้านจิตใจในระหว่างการทำ MRI โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความวิตกกังวล ความตื่นตระหนก ความกลัวที่แคบ กรณีตัวอย่างที่ยกมาจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความคิด ความรู้สึกของผู้ป่วยจากมุมมองของผู้ป่วยเอง นอกจากนี้ยังมีคำแนะนำที่จะช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยในระหว่างการทำ MRI

Magnetic Resonance Imaging (MRI) is currently the most preferred method of medical diagnostic imaging. However, many patients undergoing ‘First Time’ MRI have a fear of it and the heightened levels of anxiety. As a result, the patient may have movement that causes artifact in the MRI results and thus need longer process and the distress of the patient can be higher. There is limited information in literature of a ‘First Time’ MRI scan from the adult patient’s perspective. Thus this article demonstrates the psychological effects, particularly anxiety, panic and claustrophobia caused by the MRI procedure. A case example is described to reveal thoughts and feelings from a patient’s perception. Recommendations to reduce the patient’s anxiety during the MRI process are outlined.

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ