Safer sex practices among male vocational students in Nakhon Pathom province

Main Article Content

Napatsawan Watronachai
Patcharapom Kredmongkol
Arpaporn Powwattana
Priyakamon Khan

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของ นักเรียนอาชีวศึกษาชาย จังหวัดนครปฐม โดยประยุกต์ใช้แบบจำลองพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์เป็นกรอบ แนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอาชีวคิกษาชายที่มีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์ อายุ 15-19 ปี จำนวน 214 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการคิกษาพบว่า นักเรียนอาซีวคิกษาชายกลุ่มนี้มีพฤติกรรมทางเพศที่ ปลอดภัย โดยพบว่า ด้านการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสียงทางเพศ มีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติที่สูงกว่าด้านการใช้ถุงยางอนามัย และการ ใช้ทักษะการยืนยันในความคิดของตนเอง (X = 2.14, X = 1.20, and X = 1.14, ตามลำดับ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม ทางเพศที่ปลอดภัย ได้แก่ 1) การรับรู้อุปสรรคด้านข้อแก้ตัวและสัมพันธภาพ (r = -.243. P < .001 and r = -.146, p < .05)
2) การรับรู้สมรรถนะของตนเองด้านการปฏิเสธและการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย (r = .326 and r = .405, p < .001)

3) บรรทัดฐานของเพื่อน (r = .304, P < .001) 4) บรรทัดฐานของคู่เพศสัมพันธ์ (r = .287, P < .001) 5) แรงสนับสนุนทาง สังคมจากเพื่อนด้านการให้ความมั่นใจ (r= .211, P < .01) 6) แรงสนับสนุนทางสังคมจากคู่เพศสัมพันธ์ด้านการให้ความมั่นใจ การให้ข้อมูลข่าวสาร และการให้อุปกรณ์ (r = .311, P < .001, r = .215, and r = .178, p < .01) และการดม แอลกอฮอล์ (r= -.138, p < ,05)ปัจจัยที่ทำนายพฤติกรรมทางเพศที่ปลอตภัย ได้แก่ การรับรู้อุปสรรคด้านข้อแก้ตัว การรับรู้ สมรรถนะของตนเองด้านการมีเพศสัมพันธ์ทีปลอดภัย และด้านการปฏิเสธ บรรทัดฐานของเพื่อน แรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน ด้านการให้ข้อมลข่าวสาร และแรงสนับสนุนทางสังคมจากคู่เพศสัมพันธ์ ด้านการให้ความมั่นใจ โดยทั้งหมดสามารถร่วมกัน ทำนายพฤติกรรมทางเพศทีปลอดภัยได้ร้อยละ 32 จากผลการวิจัยครั้งนี้ ควรมีการสนับสนุนให้มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยในกลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษาชาย และมีการจัดโปรแกรมให้ศวามรู้เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีพฤตกรรมทางเพศที่ปลอดภัย โดยในโปรแกรมนี้ควรมีการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในเรื่องเพศ และลดการรับรู้อุปสรรค

คำสำคัญ : พฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย; นักเรียนอาชีวศึกษาชาย

 

Abstract

A cross-sectional descriptive research was designed to examine safer sex practices and itsrelated factors among male vocational students in Nakhon Pathom province, as conceptualized by Pender'sHealth Promotion Model. A cluster sampling was used to select 214 sexually active male vocational studentsaged 15-19 years. Data were collected by self-administered questionnaires. Means, standard deviations, Pearson'sproduct moment correlation coefficient and stepwise multiple regression were used for the statistical analysis.Results revealed that in response to mde vocational students safer sex practices, the mean score of avoidanceof risky behaviors was higher than the use of condom and assertiveness skills (X = 2.14,X = 1.20, and X = 1 .14,respectively). The factors significantly related to safer sex practices were 1) perceived barriers of safer sexregardingexecutionandrelationshipconcerns(r=-.243,p<.001 andr=-.146,p<.05),2)perceivedself-efficacy of safer sex regarding say no and precaution (r=.326 and r=.405, p <.001),3) peer norm (r=.304. p <.001),4) partner norm (r=.287, p<.001),5) social support of peer regarding confidence (r=.211, p< .01), 6) social support of partner regarding confidence, information, and instrument (r = .31 1 , p < .001 , r = .215,and r= .178, p < .01), and 7) alcohol consumption (r= -.138, p < .05).The variables that can predict safer sexpractices with 32o/o of the variance were perceived barriers of safer sex regarding execution, perceivedself-efficacy of safer sex regarding say no and precaution, peer norm, social support of peer regardinginformation, and social support of partner regarding confidence. These findings contribute to better understandingof safer sex practices among mde vocational students and can guide educational programs topromote safer sex. There should be programs established to promote sexual self-efficacy and decreaseperceived barriers.

Keywords : safer sex practices; male vocational students

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ