สมรรถนะของอาจารย์พยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

Main Article Content

มณฑาทิพย์ สุรินทร์อาภรณ์
อวยพร ตัณมุฃยกุล

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับสมรรถนะของอาจารย์พยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวง สาธารณสุข และสำรวจกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ รวมทั้งปัจจัยเอื้อและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะของ คณาจารย์กลุ่มนี้ ประซากรเปีนอาจารย์พยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ จำนวน 985 คน เครื่องมือที่ใข้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามส่วนบุคคล แบบวัดสมรรถนะของอาจารย์พยาบาล แบบสอบถาม กิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์พยาบาล และแบบสอบถามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์ พยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา

ผลการวิจัยพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะของประชากรที่คืกษาโดยรวมและรายด้านคือ ด้านการสอน ด้านการ พัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ด้านการวิจัย ด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม และด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอยู่ ในระดับมาก กิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะที่ถูกระบุจำนวนมากที่สุดคือ ด้านการสอนได้แก่ การได้รับโอกาสคืกษาต่อ ด้าน การพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลได้แก่ การสนับสนุนการค้นคว้าด้วยตนเองในเรื่องการให้ความรู้ ด้านการวิจัยได้แก่ การ จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคมได้แก่ การเป็นผู้จัดโครงการสนับสนุนการ ให้ความรู้แก่ชุมชนและสังคม และด้านการทำนุบำรุงคืลปวัฒนธรรมได้แก่ การมีส่วนร่วมในชมรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีภายโนหน่วยงาน ปัจจัยเอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์พยาบาลได้แก่ การมีประสบการณ์ เหมาะสมตามเกณฑ์ที่จะได้รับการพัฒนา นโยบายและแผนของหน่วยงานด้านการพัฒนาบุคลากรทั้งระยะสันและระยะยาว การมีเครื่องคอมพิวเตอร์ และสืออิเลค่โทรนิกส์ที่ทันสมัย และการมีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาผลงานวิจัยเพียงพอใน หน่วยงาน ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการพัฒนาสมรรถนะได้แก่ วัยวุฒิอยู่ในช่วงที่ไม่เหมาะสม นโยบายการพัฒนา
บุคลากรที่ไม่ชัดเจน การมีเครื่องคอมพิวเตอร์และสื่ออิเลคโทรนิกส์ที่ล้าสมัยและไม่สะดวกต่อการใช้ และความไม่พอเพียง ของค่าตอบแทนทีได้รับ

 

Abstract

The purposes of this descriptive research were to assess competencies of nurse educators in thenursing colleges under the Ministry of Public Health and to examine competency development activities andfacilitating and impeding factors related to their competency development. The population was composed of985 nurse educators in the nursing colleges under the Ministry of Public Health. The instruments used for datacollection were a demographic profile, Competencies of Nurse Educator Scale, Competency DevelopmentActivities Questionnaire, and Factors Related to Competency Development Questionnaire. The data wereanalyzed using descriptive statistics.

The results of the study showed that the mean scores of the studied population's competencies; bothoverall and 5 subscales : teaching, nursing personnel development, research, provision of academic services,and cultural promoting and preserving, were at a high level. The highest frequencies of identified activitiesrelated to each competency development were 1) receiving the opportunities to advance their education fordeveloping teaching competencies, 2) gaining support in self directed learning on knowledge transferring fornursing personnel development, 3) participating in research workshop for the research competency development,4) organizing and academic service project for provision academic service, and 5) participating in theinstitution cultural, custom and tradition preservation club for developing cultural promoting and preservingcompetencies. The facilitating factors for their competency development included their met-criterion experiences,the institution's policy and short and long term plans for the staff development, availability of updated computersand electronic media, and adequacy of financial support for research in the institution. The impeding factorsincluded the age criterion which was inappropriate, unclear staff development policy, out of date and inconvenientcomputers and electronic media.

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ