ความสัมพันธ์ระหว่างความล้าของสายตากับการตรวจสมรรถภาพทางสายตา ในกลุ่มผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ในโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ The Relationship between Visual Fatigue and Occupational Vision Test AmongComputer Users in Uttaradit Hospital

Main Article Content

จรูญ ชิดนาย
วิรงค์รอง จารุชาต
ศศิธร ชิดนาย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั ้งนี ้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (analytic cross-sectional study) เพื ่อ (1) ศึกษาความชุก
ความล้าของสายตา (2) ปัจจัยที ่เกี ่ยวข้องกับความล้าของสายตาและสมรรถภาพทางสายตา และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ความล้าของสายตากับผลการตรวจสมรรถภาพทางสายตาในกลุ่มผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างเป็น
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์มากกว่า 1 ชั่วโมงต่อวันใน 12 หน่วยงาน โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบ
ด้วย (1) แบบสอบถามเกี่ยวกับสายตา ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลความล้าของ
สายตา (2) เครืองมือทดสอบสมรรถภาพทางสายตา (TITMUS 2a) และ (3) เครื ่องวัดปริมาณความเข้มข้นของแสงสว่าง (Extech
407026) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ (1) สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (2) สถิติเชิงวิเคราะห์ได้แก่ ค่าสถิติไคว-สแควร์ (Chi-square) และค่าความเสี่ยงสัมพันธ์ Odds Ratio โดยกำหนดช่วงความเชื่อมั่นที่ ร้อยละ 95
ผลการวิจัย พบว่ามีความชุกของความล้าของสายตา ร้อยละ 24.4 ไม่พบปัจจัยที ่เกี ่ยวข้องกับความล้าของสายตา ปัจจัย
ที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพทางสายตา ได้แก่ อายุและระยะเวลาที่เริ่มใช้งานคอมพิวเตอร์ (p < .05) ความสัมพันธ์ระหว่าง
ความล้าของสายตาจากการใช้งานคอมพิวเตอร์กับสมรรถภาพทางสายตา พบว่า ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ที ่มีผลการตรวจสมรรถภาพ
ทางสายตาไม่เหมาะสมกับงานมีอาการล้าของสายตาเป็น 2.667 เท่าของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ผลการตรวจสมรรถภาพทาง
สายตาเหมาะสม (95% CI=1.048 – 6.782)
จากการศึกษาอายุและระยะเวลาเริ ่มใช้คอมพิวเตอร์มีผลต่อสมรรถภาพทางสายตา และสมรรถภาพทางสายตามีความ
สัมพันธ์ต่อความล้าของสายตา ดังนั้น ควรมีการตรวจสมรรถภาพทางสายตาประจำปี และควรมีการป้องกันมากขึ้นในกลุ่มที่มี
ความเสี่ยงโดยการพักสายตา กระพริบตาบ่อยๆ หรือพบจักษุแพทย์

คำคำคัญ:     ความล้าของสายตา/สมรรถภาพทางสายตา/ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร

Abstract
The purposes of this analytic cross-sectional study were (1) to study the prevalence of visual fatigue
(2) to describe factors associated with visual fatigue and occupational vision test and (3) to examine the
relationship between visual fatigue and occupational vision test among computer users working with
computer more than one hour a day in twelve departments, Uttaradit hospital (n=127). Data were collected
using questionnaires composed of demographic data, computer using data; an Occupational Vision Tester  (TITMUS 2a); and the light meter (A Lux meter: Extech
407026). Data were analyzed using 1) descriptive
statistics such as percentage mean standard
deviation and 2) analytical statistics: Chi-square and
Odds Ratio with 95 % confidence interval.
The results of the study showed that the
prevalence of visual fatigue was 24.4%. No factors
were associated with visual fatigue. Age and duration
of computer usage were significant correlated with
visual fatigue (p < .05). Computer users who had
inappropriate occupational vision test results were
more likely to have 2.667 times of visual fatigue than
those who had an appropriate occupational vision
test results (95% CI=1.048 – 6.782).
The finding of this study suggested that age
and duration of computer usage were more likely
to be correlated with the occupational vision test,
which can be lead to visual fatigue. Therefore, it is
necessary that these people should get the visual
checking annually. Finally, for these who were at
risk of visual fatigue, they should have time to rest
eyes, blink eyes and meet with an ophthalmologist.






Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ