การประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2553-2554 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี The Evaluation of Graduate Quality According to Thai Qualifcations Framework for Higher Education in Academic Year 2010-2011 at Boromarajonan
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจภาคตัดขวางเพื่อประเมินคุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรีที่สาเร็จปีการศึกษา 2553-2554 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บังคับบัญชาขั้นต้นของ
บัณฑิตที่สาเร็จปีการศึกษา 2553 จานวน 125 คน ปีการศึกษา 2554 จานวน 65 คน เก็บข้อมูลทางไปรษณีย์ ระหว่างเดือน
ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2555 โดยใช้แบบประเมินคุณภาพบัณฑิตของส่วนพัฒนาการศึกษา สถาบันพระบรมราชชนก
6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ทางวิชาการ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) ด้าน
ทักษะการปฏิบัติเชิงวิชาชีพ จานวน 37 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น (Cronbach’s alpha) ของแบบสอบถามโดยรวม เท่ากับ 0.94
ในผู้ใช้บัณฑิตปีการศึกษา 2553 และ 0.96 ในผู้ใช้บัณฑิตปีการศึกษา 2554 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ
ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test อิสระ ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของบัณฑิตโดยรวม ตามการรับรู้ของผู้บังคับบัญชา
ของบัณฑิตอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกันทั้งในปีการศึกษา 2553 ( = 4.85, SD = 0.15 ) และปีการศึกษา 2554 ( = 4.86,
SD = 0. 16) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับมากทุกด้านเช่นเดียวกันทั้ง 2 ปีการศึกษา โดยมาตรฐาน
คุณภาพด้านคุณธรรม จริยธรรม มีคะแนนสูงสุด ปีการศึกษา 2553 ( = 4.89, SD = 0. 15) ปีการศึกษา 2554 ( = 4.92,
SD = 0. 12) รองลงมา คือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ปีการศึกษา 2553 ( = 4.88, SD = 0. 18)
ปีการศึกษา 2554 ( = 4.88, SD = . 23) สาหรับคุณภาพของบัณฑิตด้านที่มีคะแนนน้อยที่สุด คือ ด้านทักษะทางปัญญา
เช่นเดียวกัน ปีการศึกษา 2553 ( = 4.81, SD = 0. 30) และปีการศึกษา 2554 ( = 4.80, SD = 0. 34) เมื่อเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยรวมของคุณภาพบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 และ 2554 พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (t = -0.302, p = 0.769) การศึกษานี้มีประโยชน์ในการติดตามประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
พยาบาลระดับปริญญาตร
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจภาคตัดขวางเพื่อประเมินคุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรีที่สาเร็จปีการศึกษา 2553-2554 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บังคับบัญชาขั้นต้นของ
บัณฑิตที่สาเร็จปีการศึกษา 2553 จานวน 125 คน ปีการศึกษา 2554 จานวน 65 คน เก็บข้อมูลทางไปรษณีย์ ระหว่างเดือน
ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2555 โดยใช้แบบประเมินคุณภาพบัณฑิตของส่วนพัฒนาการศึกษา สถาบันพระบรมราชชนก
6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ทางวิชาการ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) ด้าน
ทักษะการปฏิบัติเชิงวิชาชีพ จานวน 37 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น (Cronbach’s alpha) ของแบบสอบถามโดยรวม เท่ากับ 0.94
ในผู้ใช้บัณฑิตปีการศึกษา 2553 และ 0.96 ในผู้ใช้บัณฑิตปีการศึกษา 2554 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ
ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test อิสระ ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของบัณฑิตโดยรวม ตามการรับรู้ของผู้บังคับบัญชา
ของบัณฑิตอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกันทั้งในปีการศึกษา 2553 ( = 4.85, SD = 0.15 ) และปีการศึกษา 2554 ( = 4.86,
SD = 0. 16) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับมากทุกด้านเช่นเดียวกันทั้ง 2 ปีการศึกษา โดยมาตรฐาน
คุณภาพด้านคุณธรรม จริยธรรม มีคะแนนสูงสุด ปีการศึกษา 2553 ( = 4.89, SD = 0. 15) ปีการศึกษา 2554 ( = 4.92,
SD = 0. 12) รองลงมา คือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ปีการศึกษา 2553 ( = 4.88, SD = 0. 18)
ปีการศึกษา 2554 ( = 4.88, SD = . 23) สาหรับคุณภาพของบัณฑิตด้านที่มีคะแนนน้อยที่สุด คือ ด้านทักษะทางปัญญา
เช่นเดียวกัน ปีการศึกษา 2553 ( = 4.81, SD = 0. 30) และปีการศึกษา 2554 ( = 4.80, SD = 0. 34) เมื่อเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยรวมของคุณภาพบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 และ 2554 พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (t = -0.302, p = 0.769) การศึกษานี้มีประโยชน์ในการติดตามประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
พยาบาลระดับปริญญาตร
Article Details
How to Cite
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว