การใช้หลัก ABCs ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บศีรษะ โดยเฉพาะจากอุบัติเหตุทางรถยนต์นำมาสู่ความพิการและเสียชีวิต พยาบาลต้องมีความรู้และความเข้าใจถึงผลกระทบทางสรีรวิทยาของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงโดยให้ความสำคัญในเรื่องของการสังเกตอาการที่สำคัญและการดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงทีเนื่องจากการจัดการภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงมีความซับซ้อนปัจจุบันจึงมีการพัฒนาหลักช่วยเตือนความจำเกี่ยวกับการประเมินอาการและจัดการปัญหาสุขภาพในผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง โดยใช้หลัก ABCs ซึ่งครอบคลุมตัวย่อจาก A ถึง J ตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ เพื่อช่วยเสริมให้พยาบาลเกิดความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับหลักการพยาบาลที่ถูกต้องในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ทั้งนี้การใช้หลักช่วยเตือนความจำจะช่วยให้พยาบาลมีการประเมินสาเหตุของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง และสามารถจัดการภาวะดังกล่าวอย่างเหมาะสมทันเวลาช่วยลดโอกาสการเกิดความพิการและอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะได้
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
2.Suadoni MT. Raised intracranialpressure: Nursing observations and interventions. Nurs Stand. 2009; 23(43):35-40.
3.Hickey JV, Olson DM. Intracranial hypertension: Theory and management of increased intracranial pressure.In:Hickey JV, editor. The clinical practice of neurological and neurological nursing. 6th ed. Philadelphia, PA:Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins; 2009. p.270-307.
4.Tan TK, Cheng MH, Sim EY. Options for managing raised intracranial pressure. Proceedings of Singapore Healthcare. 2015;24(3):156-64.
5.Limamnuelap S. Nursing care for patients with critical illness, No.7. KhonKaen: International Finance Limited Partnership Printing Science;2013. (in Thai).
6.Suwatcharangkoon S. Management of acute stroke patients with increased intracranial pressure. Journal of Thai Stroke Society. 2015;14(2):94-101. (in Thai).
7.Hussein MTEL, Zettel S, Suykens AM. The ABCs of managing increased intracranial pressure. J Nurs Educ Pract. 2017;7(4):6-14.
8.Ugras GA, Yuksel S. Factorsaffecting intracranial pressure and nursing interventions. Jacobs Journal of Nursing and Care. 2014;1(1):1-6.
9.Varghese R, Chakrabarty J, Menon G. Nursing management of adults with severe traumatic brain injury: A narrative review. Indian J Crit Care Med. 2017;21(10):684-97.
10.Zerfoss CL. Reducing intracranial pressure in patients with traumatic brain injury. Am Nurse Today. 2016;11(10):1-6.
11.Kusoom W. Critical care nursing: Aholisticapproach. 5thed. Bangkok:Corporate Ordinary Partnership;2013. (in Thai).
12.Ng I, Lim J, Wong HB. Effects of head posture on cerebral hemodynamics: Its influences on intracranial pressure, cerebral perfusion, and oxygenation. Neurosurgery. 2004;54(3):593-7.
13.Ponglaohapan U, Wongwatunyu S, Khuwatsamrit K. Nursing activities and factors related toincrease intracranial pressure in head injury patients. Ramathibodi Nursing Journal. 2009;15(2):221-32.(in Thai).
14.Marcoux KK. Management of increased intracranial pressure in the critically ill child with an acute neurological injury. AACN Clin Issues. 2005;16(2):212-31.
15.Sutthichoophaiboon S, Buaneam R, Thammaraksa T. The posture to relieve pressure in the skull in patients after brain surgery. Siriraj Nursing Journal. 2007;1(2):54-61.(in Thai).
16.Yokobiri S,Yokota H. Targeted temperature management in traumatic brain injury. J Intensive Care. 2016;4:28.