ปริมาณฟีนอลิกรวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของชาดอกดาวเรือง

ผู้แต่ง

  • บุษราคัม แซ่ตั้ง
  • ปภัสสร สุขรี่
  • ศุภรัตน์ ด่านอุดมรักษ์
  • พรประภา ชุนถนอม
  • กรรณิการ์ สมบุญ
  • จารุวรรณ ดรเถื่อน สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 47160

คำสำคัญ:

ชา ดอกดาวเรือง สารประกอบฟีนอลิก ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟีนอลิกรวมของสารสกัดจากดอกดาวเรือง (Tagetes erecta L.) ทำโดยสกัดด้วยน้ำร้อน นำสารสกัดมาทดสอบปริมาณฟีนอลิกรวมด้วยวิธี Folin-Ciocalteau ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2,2-diphenyl-1-picryhadrazyl (DPPH) และ FRAP assay จากผลการทดลองพบว่าฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณฟีนอลิกรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สารสกัดด้วยน้ำจากชาดอกดาวเรืองมีปริมาณฟีนอลิกรวมอยู่ในช่วง 0.54±0.05 – 0.98±0.08 mg GAE/g DW และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ FRAP assay อยู่ในช่วง 11.93 ± 0.43 – 33.65 ± 1.07 mg/mL และ 0.52±0.00 - 0.79±0.01 mmol Fe2+/g DW ตามลำดับ

References

กรุณา คชเรนทร์ และพันธศักดิ์ ศุกระฤกษ์. (2553). การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของชาดอกไม้. 1266-1274. ค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2565. https://grad.dpu.ac.th/upload/content/files.

จตุพร ประทุมเทศ, จักรกฤษณ์ สุรสอน, ทิพยมนตร์ เปาป่า และจารุวรรณ ดรเถื่อน. (2561). ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการชงชาต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมและการต้านอนุมูลอิสระในชาดอกอัญชัน. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 16 (ฉบับพิเศษ 3): 372-379.

จำเนียร ชมภู, เชษฐ์ชัชชัยย์ นิลาภรณ์, จุฑามาศ เมรสนัด และราตรี บุญเรืองรอด. (2562). ผลของสารสกัดด้วยน้ำจากดอกดาวเรืองในการต้านอนุมูลอิสระและยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์แอลฟา-อะไมเลส และ แอลฟา-กลูโคซิเดส. แก่นเกษตร. 47 (2): 293-306.

จำเนียร ชมภู, สุนิสา อุยะตุง, ธนพงศ์ ไกรพุฒ และราตรี บุญเรืองรอด. (2564). ปริมาณสารพฤกษเคมี และการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากดอกดาวเรืองฝรั่งเศส. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 39 (4): 264-273.

ดวงแก้ว ธีรศิลป, รสธร วีระวิทยานันต์ และพุทธปรานี ตั้งวิชิตฤกษ์. (2548). การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของดอกขจร ดอกมะลิ ดอกลั่นทม โดยวิธี TEAC. ปริญญานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุหรัน พันธุ์สวรรค์. (2556). อนุมลอิสระ สารต้านอนมุลอิสระ และการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ. วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 21 (3): 275-286.

ลือชัย บุตคุป. (2555). สารประกอบฟีโนลิกและฤทธิ์ทางชีวภาพ. Journal of Science and Technology Mahasarakham. 31 (4): 443-455.

วรินธร พูลศรี ภูรินทร์ อัครกุลธร และ กรรณพต แก้วสอน. (2560). การศึกษาวิธีการอบแห้งในการทำชาจากดอกกุหลาบ. Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 16 (1-2): 1-9.

อาวุธ หงษ์ศิริ และศุภรัตน์ ดวนใหญ่. (2564). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิกรวม และปริมาณฟลาโวนอยด์รวม ของสารสกัดข่า ขิง และผักเสี้ยนผี. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 6 (2): 37-43.

Benko F., Palkovičová V., Ďuračka M., Árvay J., Lukáč, N. and Tvrdč E. (2019). Antioxidant effects of marigold (Calendula officinalis) flower extract on the oxidative balance of bovine spermatozoa. Contemporary Agriculture. 68(3-4): 92-102.

Chew B.P., Wong M.W. and Wong T.S. (1996). Effects of lutein from marigold extract on immunity and growth of mammary tumours in mice. Anticancer Research. 16: 3689-3694.

Kim D.O. and Lee C.Y. (2002). Extraction and Isolation of Polyphenolics, Current Protocols in Food Analytical Chemistry. R.E. Wrolstad : New York.

Kumar S. (2014). The Importace of Antioxidant and Their Role in Phamaceutical Science-A Review. Asian Journal of Research in Chemistry and Phamaceutical Sciences. 1 (1): 27-44.

Martin K.R., Eailla M.L. and Smith J.C. (1996). β-Carotene and lutein protect HepG2 human liver cells against oxidant-induced damage. Journal of Nutrition. 126: 2098-2106.

Nehr N.T. (1968). The ethnobotany of tagetes. Economic Botany. 22: 317-324.

Ronald L.P., Xianli W. and Karen S. (2005). Standardized methods for the determination of antioxidant capacity and phenolics in foods and dietary supplements. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 53: 4290-4302.

Singh R.P., Chidambara K.N. and Jayaprakasha G.K. (2002). Studies on the Antioxidant Activity of Pomegranate (Punica granatum) Peel and Seed Extracts Using in Vitro Model, Journal of Agricultural and Food Chemistry. 50: 81-86.

Zhang L.X., Coney R.V. and Betram J.S. (1991). Carotenoids enhance gap functional communication and inhibit lipid peroxidation in C3H/10T/2 cells: relationship to their cancer chemo preventive action. Carcinogenesia. 12: 2109-211

ปริมาณฟีนอลิกรวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของชาดอกดาวเรือง (Total phenolic content and antioxidant activity of Tagetes erecta L. flower tea)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2023