THE EFFECTS OF A SELF-HELP GROUP PROGRAM ON QUALITY OF LIFE AMONG CAREGIVERS OF CHILDREN WITH PHYSICAL IMPAIRMENTS IN UDON THANI PROVINCE

Authors

  • Puangpaka Iniam Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand
  • Charinporn Machara Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand
  • Porntip Anantakul Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand
  • Lukkhana Pratan Udon Thani Special Education Center, Udonthani Province, 41000, Thailand

Keywords:

quality of life, a self-help group, children with physical impairments

Abstract

            This study employed a quasi-experimental one-group pretest-posttest design to explore the effects of a self-help group program on the life quality among caregivers of children with physical impairments. The participants included 30 primary caregivers of children with physical impairments from the Udon Thani Special Education Center, selected through purposive sampling. The research instruments comprised a 12-week self-help group program with four different types of support activities—sharing emotional and social support, providing information, offering education and skill development, and advocating for caregivers. Content validity, examined by three experts, yielded a content validity index of .67 – 1.00. The research instrument for collecting data from caregivers was the quality-of-life questionnaire of the World Health Organization Quality of Life Brief-Thai (WHOQOL-BREF-THAI). The reliability was .84. Data analysis involved percentage, mean, standard deviation, and paired t-test.

            The research results demonstrated that, compared to before the intervention, the mean scores for the quality of life of caregivers for children with physical impairments significantly improved at the .05 level. Therefore, nurses and healthcare teams should establish self-help groups for caregivers of children with physical impairments in the community. Furthermore, the program can be adapted for use with patients having different illnesses to enhance the patient’s quality of life and to promote the quality of life for caregivers in terms of physical, mental, social relations, and the environment.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

Puangpaka Iniam, Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand

ชื่อ – สกุล

พวงผกา   อินทร์เอี่ยม

วัน  เดือน  ปีเกิด

8  มีนาคม  2521

ที่อยู่ปัจจุบัน

131/74 ม.5 ต.หนองบัว อ.เมือง จ.อุดรธานี

ที่ทำงานปัจจุบัน

234 หมู่ 12 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี       ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000

ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน

อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

ประสบการทำงาน

 

 

พ.ศ. 2565

อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

 

พ.ศ. 2551

อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

 

พ.ศ. 2544

พยาบาลวิชาชีพ  โรงพยาบาลเอกอุดร จังหวัดอุดรธานี

ประวัติการศึกษา

 

 

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2544

พย.ม. (การบริหารการพยาบาล) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชธานี

พย.บ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลงานตีพิมพ์

 

 

ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์

 

พวงผกา อินทร์เอี่ยม. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ตามการรับรู้ของอาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันการศึกษาพยาบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

 

ผลงานตีพิมพ์อื่นๆ

 

พวงผกา อินทร์เอี่ยม, จําลอง ชูโตและสุนทรีภานุทัต. (2560). ผลของการจัดโครงการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติต่อความเครียดและความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติการพยาบาลครั้งแรกของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชธานีวิจัย ครั้งที่ 2 "การวิจัย 4.0 เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน" ณ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.

สุกัญญา ฆารสินธุ์, วรนุช ไชยวาน, พวงผกา อินทร์เอี่ยม, กฤชกันทร สุวรรณพันธุ์และนิตยา โพธิศรีขาม. (2561). ประสิทธิผลการจัดกิจกรรมเล่านิทานต่อทักษะการดูแลสุขภาพตนเองของเด็กป่วย. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(4); 541-552.

พวงผกา อินทร์เอี่ยม. (2561). ความเครียดและความพร้อมต่อการปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานครั้งแรกของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี. การประชุมวิชาการและประชุมสามัญประจำปี 2561 เรื่อง “พยาบาลเสียงแห่งพลัง: สุขภาพเป็น สิทธิมนุษยชน” (Nurses: A Voice to Lead – Health is a Human Right). สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯสานักงานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ โรงแรมอวานีขอนแก่นโฮเทล จังหวัดขอนแก่น.

ปิติณัช ราชภักดีและพวงผกา อินทร์เอี่ยม. (2563). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แพดเล็ต (Padlet) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้แบบนำตนเองและทักษะการมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาพยาบาล ในรายวิชากาพยาบาลผู้ใหญ่ 2 หัวข้อ การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบกระดูก.วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 28(1); 52-60.

สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, ศรัญญา ต.เทียนประเสริฐ, ณัฏฐากุล บึงกุม, อัญชลี อ้วนแก้วและพวงผกา อินทร์เอี่ยม. (2564). การรับรู้ของอาจารย์พยาบาลต่อสมรรถนะวิชาชีพที่สามารถปฏิบัติได้โดยไม่ต้องกากับดูแลของบัณฑิตพยาบาล. วารสารกองการพยาบาล, 48(2); 54-65.

กาญจนา ปัญญาธร,  จุฬารัตน์ ดวงตาผา,  ขนิษฐา แก้วกัลยา,  รุ่งวิสา สว่างเนตรและพวงผกา อินทร์เอี่ยม. (2565). ผลลัพธ์ของการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรที่มีภาวะอ้วนลงพุง โรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี: การวิจัยเชิงผสมผสาน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 40(1); 74-83.

Charinporn Machara, Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand

ชื่อ – สกุล

ชรินทร์พร มะชะรา

วัน  เดือน  ปีเกิด

11 กรกฎาคม 2522

ที่อยู่ปัจจุบัน

88/59 หมู่ที่ 5 ต.หนองบัว อ.เมือง จ.อุดรธานี

 

ที่ทำงานปัจจุบัน

234 หมู่ 12 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี       ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000

ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน

อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ประสบการณ์ทำงาน

 

 

พ.ศ. 2545

พยาบาลวิชาชีพ 

 

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2554

อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเซีย

อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

 

พ.ศ. 2563

อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

ประวัติการศึกษา

 

 

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2545

พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพเด็ก) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พย.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานตีพิมพ์

 

 

ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์

 

ผลงานตีพิมพ์อื่นๆ

 

ชรินทร์พร มะชะรา. (2559). ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดอุดรธานี. รายงานการประชุมในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 สร้างเสริมวิทยาการผสมผสานวันธรรมไทย ก้าวอย่างมั่นใจเข้าสู่ AC. มหาวิทยาลัยราชธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี,วันที่ 29 กรกฎาคม 2559. หน้า 32-41.

ชรินทร์พร มะชะรา, วรนุช ไชยวานและ สุรางค์ เนียมแสง. (2561). การพัฒนานวัตกรรมผ้าปิดตาในทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับการส่องไฟรักษา. รายงานการประชุมในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการครั้งที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”. มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี, 25 พฤษภาคม 2561. หน้า 509-520. 

ชรินทร์พร มะชะรา, เพียงเพ็ญ บุษมงคล, ภัสพร โมฆะรัตน์และ ศุภรัตน์ ผายดี. (2562) .การพัฒนานวัตกรรมหุ่นฝึกฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นขาและเจาะเลือดบริเวณส้นเท้าของทารกแรกเกิด ต่อความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล.รายงานการประชุมในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการครั้งที่ 4 “การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี, 31 พฤษภาคม 2562. หน้า 801-809.

Bussamongkhon, P., Chaisri, P. and Machara, S. (2019). Factors related with the consumption of dietary supplements among student’s Udon Thani Rajabhat University. Proceedings of The 9th Institute of Physical Education International conference, Bangkok Thailand, 19-21 May 2019. p.39-46.

ชรินทร์พร มะชะรา, พรทิพย์ กกฝ้าย, สุกัญญา ฆารสินธุ์, สังคม ศุภรัตนกุล และดวงพร แสงสุวรรณ. (2564). ความรู้และพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาของผู้ดูแลและพัฒนาการด้านภาษาของเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตเทศบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดอุดรธานี. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 15(3), 574 – 587.

กิติยาพร สังฆศรีสมบัติ, ชรินทร์พร มะชะรา. (2564). ผลของรูปแบบการวางแผนจําหน่ายแบบผสมผสานต่อความรู้และทักษะมารดาของทารกคลอดก่อนกําหนด. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 29(3); 333-345.

 

 

Porntip Anantakul , Faculty of Nursing, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani Province, 41000, Thailand

ชื่อ – สกุล พรทิพย์ อนันตกุล
วัน เดือน ปีเกิด 6 กรกฎาคม 2514
ที่อยู่ปัจจุบัน 54/144 ม.3 ต.หนองบัว อ.เมือง จ. อุดรธานี
ที่ทำงานปัจจุบัน 234 หมู่ 12 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ประสบการณ์ทำงาน
พ.ศ. 2537 พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2544 อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
พ.ศ. 2561 อาจารย์ประจำคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2537 พย.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2544
พ.ศ. 2554 พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพเด็ก) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปร.ด. (หลักสูตรและการเรียนการสอน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลงานตีพิมพ์
ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์
ผลงานตีพิมพ์อื่นๆ
พรทิพย์ อนันตกุล, พรรณวรดา สุวัน และกรรณิกา ปัญญาภู. (2557). การศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการ การเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขและสถานะสุขภาพของบุคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ นำเสนอในการประชุมการพัฒนาศักยภาพภาคีและนักวิจัยหน้าใหม่ในการบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ. วันที่ 12-14 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอิมพีเรียลรีสอร์ทแอนด์สปอร์ตคลับ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
พรรณวรดา สุวัน, พรทิพย์ อนันตกุล และศิริลักษณ์ ปัญญา. (2559). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมจิตปัญญาศึกษาต่อผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน. นำเสนอในการประชุมคณบดีสถาบันการศึกษาพยาบาลเอกชน ในการประชุมวิชาการระดับชาติ การสร้างนักคิดสำหรับผู้เรียนในทศวรรษที่ 21 วันที่ 17 มีนาคม 2559 ณ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
พรทิพย์ อนันตกุล, พรรณวรดา สุวัน, กรรณิกา ปัญญาภู และพงศธร พอกเพิ่มดี .(2558). ความก้าวหน้าและการดำเนินการของกองทุนให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขของบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร,18(2); 1-9.
พรทิพย์ อนันตกุล และจันทร์ฉาย จันทะเดช. (2560). วิถีชีวิตของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่องที่บ้าน : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 20(2); 31-40.
พรทิพย์ อนันตกุล, อิศรัฐ กิตติสยาม, อ้อยใจ เพชรแสงใส และขนิษฐา แก้วกัลยา. (2562). ประสิทธิผลของการจัดการรายกรณีในผู้ป่วยเด็กโรคหืด. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 7(4); 605-616.
พรทิพย์ อนันตกุล, จินตหรา สุมะลัด และกรวิภา สีหาพันธ์. (2563). ความสัมพันธ์ของความรู้และต่อความพร้อมของมารดาหลังคลอดที่ต้องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 23(1); 52-62.

Lukkhana Pratan, Udon Thani Special Education Center, Udonthani Province, 41000, Thailand

ชื่อ – สกุล ลัคนา พระแท่น
วัน เดือน ปีเกิด 10 กันยายน 2531
ที่อยู่ปัจจุบัน 193 ม.1 ต.ดงลาน อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000
ที่ทำงานปัจจุบัน ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดอุดรธานี เลขที่ 242 ม.3 ถนนอุดร-สามพร้าว บ้านหนองบุ ตำบลสามพร้าว อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน ครูผู้ช่วย ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดอุดรธานี
ประสบการณ์ทำงาน
พ.ศ. 2556 นักจิตวิทยาบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดขอนแก่น (พนักงานราชการ)
พ.ศ. 2563 นักจิตวิทยาโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 (พนักงานราชการ)
พ.ศ. 2565 ครูผู้ช่วย ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดอุดรธานี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2555 วท.บ. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. 2563 ศษ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการให้คำปรึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลงานตีพิมพ์
ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์
ลัคนา พระแท่น. 2563. แนวคิดและทักษะการให้คำปรึกษาของพระสำราญธรรม ธมฺมธุโร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการให้คำปรึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

 

References

Boonvas, K., Supanunt, T., Chunhabordee, A., & Wae, N. (2017). Caregiver stress and needs in caring disable. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 4(1), 205-216.

Department of Empowerment of Persons with Disabilities. (2019). Annual report 2019 of department of empowerment of persons with disabilities. Bangkok: Department of Empowerment of Persons with Disabilities.

Department of Mental Health, Ministry of Public Health. (2002). WHOQOL–BREF–THAI. Retrieved from https://www.dmh.go.th/test/download/view.asp?id=17

Hansakunachai, T., Rungpiwal, R., Sutchritpongsa, S., & Chonchaiya, W. (2013). Child development and behavior textbook, volume 3, healthy child care. Bangkok: Beyond Enterprise.

Homjandee, J., & Dangdomyouth, P. (2019). The effect of social support emphasizing community participation program on burden of community schizophrenic patient’s caregivers. Journal of the Police Nurses,11(2), 433-443.

Hongtiyanon, T., & Tipawong, A. (2018). Relationships Between social support and quality of life in schizophrenia patient. Journal of The Royal Thai Army Nurse, 19(special edition), 487-494.

Jaroennon, P., & Kongplee, L. (2018). Knowledge, attitude and practice in obesity prevention among public health students, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, Pathum Thani province. Nakhon Phanom University Journal, Academic Conference 25th Anniversary Edition of Boromarajonani College of Nursing, Nakhon Phanom, special edition, 87-94.

Kingkaew, J. (2014). Group therapy and psychiatric nurses. The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health, 28(1), 1-15.

Ministry of Education. (2009). Announcement Subject: Determination of categories and criteria for persons with disabilities in education 2009. Bangkok: Ministry of Education.

Namprom, N., & Suklerttrakul, T. (2020). Nursing of newborns and children with specific health problems. Chiang Mai: Faculty of Nursing, Chiang Mai University.

Ngocharit, N., & Kumhom, N. (2017). Parents' viewpoints towards educational management, special education center of Mukdahan province, special education, Northeast. Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Isan Campus, 1(2), 24-42.

Nontapan, P. (2018). Factors related to behaviors promoting preschooler development among child care providers, Songkhla province. Journal of Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi Province, 1(3), 10–24.

Nursing Division, Ministry of Public Health. (2016). Organizing self-care promotion services using a group process. NP.

Sinhachotsukpat, L. (2022). Effects of self-help group program on the mental health self-care behaviors of schizophrenic patients’ caregivers in Nawung sub-district community, Mueang District, Phetchaburi. The Journal of Psychiatric Nursing and MentalHealth, 36(1), 19-32.

Suntaphun, P. (2022). The effects of using self–help group on the mental health self–care behavior of elderly with hypertension in the community. Regional Health Promotion Center 9 Journal, 17(3), 50–61.

Suntaphun, P., Bussahong, S., Srisoem, C., & Vongtree, A. (2020). The effects of using self –help group on the mental health self–care behavior of schizophrenia patients, caregivers in community. UMT-Poly Journal, 17(2), 50-61.

Takpho, A., Somprasert, C., & Imkome, E. (2017). The effects of a self-help group program on the mental health self-care of schizophrenic patients’ primary caregivers. Journal of Nursing and Health care, 35(3), 171–119.

Teepapal, T., & Saetew, P. (2018). The conducting of self-help group in adolescents with cancer: Nurses’s roles. Journal of Health Research and Innovation, 1–14.

Tharakham, E., & Chaichanasang, T. (2020). Effects a self-help group on quality of life of caregivers of child with cerebral palsy. Journal of Nursing and Health care, 43(3), 171–179.

Thongsri, K. (2021). Best quality of life according to Buddhist psychology. Journal of MCU Humanities Review, 7(2), 325-377.

UNICEF Thailand. (2021). Data: Monitoring the situation of children and women. Retrieved from https://data.unicef.org/resources/children-with-disabilities-report-2021

Walz, G., & Bleue, C. (1992). Developing support groups for students: Helping students cope with crises. Michigan: ERIC.

self-help gr

Downloads

Published

2023-12-25

How to Cite

Iniam, P., Machara, C. ., Anantakul , P. ., & Pratan, L. . (2023). THE EFFECTS OF A SELF-HELP GROUP PROGRAM ON QUALITY OF LIFE AMONG CAREGIVERS OF CHILDREN WITH PHYSICAL IMPAIRMENTS IN UDON THANI PROVINCE. JOURNAL OF THE POLICE NURSES AND HEALTH SCIENCE, 15(2), 170–181. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/262654

Issue

Section

Research Articles